ใบกำกับภาษี

บทความล่าสุด

ใบกำกับภาษี

สรุปการออกใบกำกับภาษี Shopee

เนื่องจากมีผู้ประกอบการหลายท่านยังสับสนกับการออกใบกำกับภาษีขาย กรณีขายสินค้าผ่าน Platform Shopee อยู่ ว่าจะต้องนำข้อมูลในส่วนไหนบ้างมาออกใบกำกับภาษีขายให้กับลูกค้า เพื่อให้ผู้ประกอบการได้เข้าใจง่ายขึ้น แอดมินได้หยิบตัวรายการคำสั่งซื้อจริงมาใช้เป็นข้อมูลในการยกตัวอย่างการออกใบกำกับภาษี

by KKN การบัญชี

ใบกำกับภาษี

ขายสินค้าผ่าน Shopee ออกใบกำกับภาษีอย่างไร

ผู้ประกอบการท่านใดที่ขายสินค้าผ่าน Shopee เราจะพบกว่ามีความปวดหัวในการออกใบกำกับภาษีให้กับลูกค้ามาก เพราะจะมีทั้งส่วนลดที่ร้านค้าเป็นผู้ออกให้กับลูกค้า ส่วนลดที่ทาง Platfrom ออกให้พิเศษเพิ่มเติมอีก ลูกค้าจ่ายเงินด้วย Coin อีก เจอครั้งแรกแอดมินมึนไปหมด วันนี้แอดมินมาแนะนำวิธีการออกใบกำกับภาษี และการคิดภาษีมูลค่าเพิ่มสำหรับการขายสินค้าผ่าน Platform Shopee เพื่อให้ผู้ประกอบการลองไปปรับใช้กันดูนะครับ สำหรับร้านค้าไหนที่ในแต่ละวันมี Order จากลูกค้าเป็น 100 ราย แอดมินของแนะนำนี่เลย PEAK – โปรแกรมบัญชีออนไลน์ PeakAccount.com ที่ช่วยให้การทำบัญชีขายของผ่าน Platform Lazada Shopee เป็นเรื่องง่าย สามารถ Import ข้อมูลการขายเข้าโปรแกรมบัญชีได้เลย ไม่ต้องเสียเวลา Key ทีละรายการขายสินค้า

by KKN การบัญชี

ใบกำกับภาษี

ใบกำกับภาษีซื้อ ยื่นผิดหรือลืมยื่นทำอย่างไรดี

ปัญหาเกี่ยวกับใบกำกับภาษีซื้อที่มักเจอจะเป็นกรณีดังต่อไปนี้ 1. ใส่ข้อมูลตัวเลขผิด (ตัวเลขไม่ตรงกับใบกำกับภาษีตัวจริง) 2. ยื่นใบกำกับภาษีซ้ำ ส่วนใหญ่มักจะเกิดจากผู้ขายส่งใบกำกับภาษีตัวจริงมาให้ช้า จึงยื่นภาษีซื้อจากสำเนารูปถ่ายไปก่อน พอได้รับเอกสารใบกำกับภาษีตัวจริงมาก็ยื่นซ้ำอีกรอบหนึ่ง 3.เคลมภาษีซื้อ โดยใบกำกับภาษีซื้อดังกล่าวเป็นใบกำกับภาษีซื้อที่ห้ามขอคืน เช่น เป็นค่ารับรอง, ใบกำกับภาษีออกไม่ถูกต้องในส่วนที่เป็นสาระสำคัญ เป็นต้น 4. ลืมยื่นใบกำกับภาษีซื้อ วันนี้แอดมินจึงมาโพสวิธีแก้ไขปัญหาเบื้องต้นที่เกิดจากใบกำกับภาษีซื้อที่ยื่นผิดหรือลืมยื่น ว่ามีทางเลือกอะไรบ้างครับ

by KKN การบัญชี

ใบกำกับภาษี

ห้ามออกใบกำกับภาษีโดยใส่ชื่อลูกค้าว่า “สด”

❌ห้ามออกใบกำกับภาษีโดยใส่ชื่อลูกค้าว่า “สด” หรือ “ลูกค้าไม่ประสงค์ออกนาม” เพราะเป็นการออกใบกำกับภาษีไม่ถูกต้องในส่วนที่เป็นสาระสำคัญ มีโทษปรับไม่เกิน 2,000 บาท กรณีเป็นความผิดครั้งแรก ต้องระวางโทษปรับเป็นรายกระทง กระทงละ 100 บาท สูงสุดไม่เกิน 10,000 บาท. 📣 กรณีที่่ลูกค้าไม่บอกชื่อ ที่อยู่ ให้ออกใบกำกับภาษีอย่างย่อแทน

by KKN การบัญชี

ใบกำกับภาษี

ใบกำกับภาษี เอกสารออกเป็นชุด คืออะไร

ถ้าผู้ประกอบการต้องการออกเอกสารใบกำกับภาษีรวมกับเอกสารอื่นและใบกำกับภาษีไม่ใช่เอกสารฉบับแรกจะต้องมีข้อความดังนี้ ใบกำกับภาษี ชื่อ-ที่อยู่และเลขประจำตัวผู้เสียภาษีของผู้ออกใบกำกับภาษี คำว่า “เอกสารออกเป็นชุด”  หากใบกำกับภาษีมีข้อความตามข้อ (1) ถึง (3) จะตีพิมพ์ ประทับตรายาง เขียนด้วยหมึก พิมพ์ดีด ออกจากคอมพิวเตอร์ หรือด้วยวิธีการใดก็ได้ สามารถขอคืนภาษีซื้อได้ หากรายการข้อ (1) ถึง (3) รายการข้างต้นจัดพิมพ์จากคอมพิวเตอร์ รายการอื่นๆ จะต้องมาจากคอมพิวเตอร์เท่านั้นถึงสามารถขอคืนภาษีซื้อได้ ดังนี้ ชื่อ ที่อยู่ ของลูกค้า เลขที่ เล่มที่ (ถ้ามี) ของใบกำกับภาษี ชื่อ ชนิด ประเภท ปริมาณและมูลค่าของสินค้าหรือบริการ มูลค่าของสินค้าหรือของบริการที่ยังไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม และจำนวนภาษีมูลค่าเพิ่มที่คำนวณจากมูลค่าของสินค้าหรือของบริการ โดยให้แยกออกจากมูลค่าของสินค้าหรือของบริการให้ชัดแจ้ง วัน เดือน ปี ที่ออกใบกำกับภาษี

by KKN การบัญชี

ใบกำกับภาษี

ใบกำกับภาษีซื้อ “ชื่อลูกค้าเป็นภาษาอังกฤษ” แต่ส่วนอื่นเป็นภาษาไทย ผิดหรือไม่?

กรณีออกใบกำกับภาษีเฉพาะรายการ ชื่อและนามสกุลของผู้ซื้อเป็นภาษาอังกฤษ แต่รายการอื่นที่เป็นสาระสำคัญเป็นภาษาไทย บริษัทสามารถปฏิบัติได้ เนื่องจากตามประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เกี่ยวกับภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 92) เขียนไว้ดังนี้ “ผู้ประกอบการจดทะเบียนซึ่งจัดทำรายการในใบกำกับภาษีเป็นภาษาอังกฤษและ เป็นหน่วยเงินตราไทย ตามมาตรา 86/4 และมาตรา 86/6 แห่งประมวลรัษฎากร ให้ถือว่าได้รับอนุมัติจากอธิบดีกรมสรรพากรตามประกาศฉบับนี้” สรุป: ใบกำกับภาษีสามารถเขียนเป็นภาษาอังกฤษได้

by KKN การบัญชี

ใบกำกับภาษี

ได้รับใบกำกับภาษีที่ไม่ถูกต้อง และต้องการแก้ไขใหม่ ทำอย่างไร??

1.บริษัทต้องร้องขอให้ผู้ออกใบกำกับภาษีดำเนินการ ยกเลิกใบกำกับภาษีฉบับเดิม บริษัทต้องถ่ายเอกสารใบกำกับภาษีฉบับเดิมที่ขอยกเลิกติดเรื่องไว้และส่งมอบใบกำกับภาษีฉบับเดิมให้แก่ผู้ออกใบกำกับภาษี จัดทำใบกำกับภาษีฉบับใหม่ โดยให้ระบุชื่อบริษัท และที่อยู่ให้ถูกต้อง ถึงจะมีสิทธินำไปถือเป็นภาษีซื้อในการคำนวณภาษีมูลค่าเพิ่มได้ 2.การยกเลิกใบกำกับภาษีฉบับเดิมและจัดทำใบกำกับภาษีฉบับใหม่ ผู้ออกใบกำกับภาษีต้องนำใบกำกับภาษีฉบับเดิมมาประทับตราว่า “ยกเลิก” หรือ “ขีดฆ่า“แล้วเก็บรวบรวมไว้กับสำเนาใบกำกับภาษีฉบับเดิมและจัดทำใบกำกับภาษีฉบับใหม่ ผู้ออกใบกำกับภาษีฉบับใหม่ ต้องหมายเหตุการยกเลิกใบกำกับภาษีไว้ในรายงานภาษีขายของเดือนภาษีที่จัดทำใบกำกับภาษีฉบับใหม่ด้วย แล้วถ้าใบกำกับภาษีที่ไม่มีการลงลายมือชื่อจากผู้ขายล่ะ? ใบกำกับภาษีจะเซ็นลายเซ็นด้วยปากกา ใช้ลายเซ็นแสกน หรือจะไม่มีลายเซ็นเลยก็ได้ เพราะลายเซ็นไม่ได้ถูกำหนดให้เป็น 1 ใน 8 องค์ประกอบสำคัญที่ใบกำกับภาษีที่ต้องมี

by KKN การบัญชี

ใบกำกับภาษี

ใบกำกับภาษีไม่ถูกต้อง แบบไหนใช้ได้และใช้ไม่ได้

เรามาดูกันว่า ในใบกำกับภาษี ต้องมีข้อมูลอะไรบ้างง?? ออกใบกำกับภาษีโดยระบุชื่อผู้ซื้อว่า “สด” ลูกค้าไม่บอกชื่อและที่อยู่ ผู้ขายสามารถเขียนชื่อลูกค้าว่า “สด” “ลูกค้าไม่ประสงค์ออกนาม” เพื่อออกใบกำกับภาษีเต็มรูปได้หรือไม่ บริษัทฯ ออกใบกำกับภาษีโดยระบุชื่อผู้ซื้อว่า “สด” โดยไม่ได้ระบุที่อยู่ของผู้ซื้อ เป็นการออกใบกำกับภาษีโดยมีรายการในส่วนที่เป็นสาระสำคัญไม่ครบถ้วนตามมาตรา 86/4 แห่งประมวลรัษฎากร บริษัทฯ มีความผิดดังนี้(1) คดีอาญา บริษัทฯ มีความผิดตามมาตรา 90 (12) แห่งประมวลรัษฎากร ต้องระวางโทษปรับไม่เกิน 2,000 บาท หากเป็นการพบความผิดครั้งแรก ต้องระวางโทษเปรียบเทียบปรับเป็นรายกระทง กระทงละ 100 บาท(2) คดีแพ่ง บริษัทฯ ไม่มีความผิดการแก้ไขใบกำกับภาษีที่บริษัทฯ ออกไปแล้วดังกล่าวข้างต้น ไม่สามารถแก้ไขได้ เราสามารถใช้วิธีการออกใบกำกับภาษีอย่างย่อเพื่อแก้ไขปัญหาเรื่องนี้ได้ ออกใบกำกับภาษีโดยไม่ระบุ “เลขผู้เสียภาษี” ของผู้ซื้อ คำชี้แจงกรมสรรพากร เรื่องการระบุเลขประจำตัวผู้เสียภาษีอากรของผู้ซื้อสินค้าหรือผู้รับบริการซึ่งเป็นผู้ประกอบการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม ในใบกำกับภาษีแบบเต็มรูประบุว่า “กรณีผู้ซื้อสินค้าหรือผู้รับบริการไม่ได้เป็นผู้ประกอบการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม ก็ไม่จำต้องแจ้งเลขประจำตัวผู้เสียภาษีอากรของตนเองให้แก่ผู้ขายสินค้าหรือผู้ให้บริการแต่อย่างใด” ปล. ถ้าลูกค้าไม่ได้จด VAT ไม่จำเป็นต้องใส่เลขประจำตัวผู้เสียภาษีก็ได้ ใบกำกับภาษีซื้อระบุ “บ้านเลขที่” ไม่ถูกต้อง กรณีใบกำกับภาษีระบุเลขที่ที่อยู่ไม่ถูกต้องจากเลขที่ […]

by KKN การบัญชี

ใบกำกับภาษี

อยากออกใบกำกับภาษีใจจะขาด แต่ลูกค้าดันไม่ให้ข้อมูลทำไงดี

วิธีแก้ไขกรณีลูกค้าไม่ให้ข้อมูล 1. ออกใบกำกับภาษีอย่างย่อ (จะได้ไม่ต้องใส่ข้อมูลลูกค้า) กิจการที่เป็นขายสินค้าในลักษณะขายปลีก หรือกิจการให้บริการรายย่อยแก่บุคคลจำนวนมาก การขายปลีก เป็นการขายให้แก่ผู้บริโภคโดยตรง เพื่อนำไปบริโภคหรือใช้สอย มิได้มีวัตถุประสงค์นำไปขายต่อ เช่น ขายของชำ ขายยา ห้างสรรพสินค้า เป็นต้น การให้บริการรายย่อยแก่บุคคลจำนวนมาก เช่น กิจการภัตตาคาร โรงแรม ซ่อมแซมทุกชนิด เป็นต้น *** หลายคนเข้าใจผิดคิดว่าการจะออกใบกำกับภาษีอย่างย่อได้ต้องขออนุญาตสรรพากร ที่ต้องขอมันคือเครื่องบันทึกการเก็บเงิน (เครื่องแคชเชียร์) 2. ออกใบกำกับภาษีเต็มรูป สรรพากรบอกว่าถ้าผู้ซื้อสินค้าหรือผู้รับบริการไม่ได้เป็นผู้ประกอบการจดทะเบียนVAT ผู้ขายก็ไม่จำเป็นต้องระบุเลขประจำตัวผู้เสียภาษีของผู้ซื้อ ผู้ประกอบการจะต้องมีการปิดประกาศ เช่นแปะป้าย ประชาสัมพันธ์บนเว็บไซต์(กรณีขายของออนไลน์) เกี่ยวกับการให้ข้อมูลของผู้ซื้อเพื่อออกใบกำกับภาษี แต่ถ้าผู้ซื้อไม่ให้ก็ไม่เป็นไร ถือว่าทำเต็มความสามารถแล้ว

by KKN การบัญชี

ใบกำกับภาษี

e-Tax Invoice by email มันทำโครตง่าย ทำไมไม่ใช้กัน?

1.สมัครสมาชิกเพื่อใช้งานระบบ e-Tax Invoice by email ได้ที่ http://interapp3.rd.go.th/signed_inter/src_inter/main2.php โดยใช้เอกสารดังนี้ แบบคำขอใช้งาน (ก.อ.01) เมื่อเรากรอกข้อมูลสมัครเราจะได้แบบนี้มาให้ print และเซ็นชื่อสมัคร หนังสือรับรองบริษัทอายุไม่เกิน 6 เดือน สำเนาบัตรประชาชน เอกสารทั้งหมดให้ Scan เป็นไฟล์ภาพหรือ PDF อัพโหลดเข้าระบบเพื่อให้สรรพากรตรวจสอบ (โครตสะดวกไม่ต้องเดินทางไปยื่นเองสารที่กรมสรรพากร) โดยมีวิธีการดังต่อไปนี้ 1.จัดทำใบกำกับภาษีในรูปแบบ PDF, Word หรือ Excel (นามสกุลไฟล์จะเป็น .pdf, .xls, .xlsx, .doc, .docx) 2.ส่งอีเมล์หาลูกค้าและCC มายังกรมสรรพากรที่อีเมล์ csemail@etax.teda.th เงื่อนไขการส่งเมล์ดังนี้ •1 Email ต่อ 1 ใบกำกับภาษี และขนาดใบกำกับภาษีต้องไม่เกิน 3MB •ไฟล์ใบกำกับภาษีต้องไม่ถูกเข้ารหัสหรือใส่ password •หัวข้ออีเมล ต้องมีรูปแบบและลําดับที่ถูกต้อง ดังนี้ การตรวจสอบใบกำกับภาษี ให้เข้าเว็ปไซต์ https://validation.etax.teda.th/ อัพโหลดไฟล์ใบกำกับภาษีดิจิตอลเพื่อตรวจสอบ

by KKN การบัญชี

ใบกำกับภาษี

ใบกำกับภาษีอย่างย่อบันทึกเป็นค่าใช้จ่ายได้หรือไม่

ข้อควรรู้เกี่ยวกับใบกำกับภาษีอย่างย่อ 1.ใบกำกับภาษีซื้ออย่างย่อไม่สามารถขอภาษีซื้อคืนได้ 2.ใบกำกับภาษีซื้ออย่างย่อสามารถนำมาบันทึกเป็นค่าใช้จ่ายได้ โดยมีเงื่อนไขเล็กน้อยคือ ค่าใช้จ่ายดังกล่าวจะต้องเกี่ยวข้องกับกิจการ ปล. ถ้าอยากปลอดภัยแนะนำใบกำกับภาษีเต็มรูปเถอะครับแม้ตามทฤษฏีจะได้แต่ใช้เยอะๆก็มีเคือง

by KKN การบัญชี

Uncategorized

ใบกำกับภาษีเต็มรูปที่ถูกต้องเป็นอย่างไร

คำว่า “ใบกำกับภาษี” ในที่ที่เห็นได้เด่นชัด รายการคำว่า “ชื่อ ที่อยู่ และเลขประจำตัวผู้เสียภาษีอากรของผู้ประกอบการ จดทะเบียนที่ออกใบกำกับภาษี” รายการ “ชื่อ ที่อยู่ ของผู้ซื้อสินค้าหรือผู้รับบริการ” รายการ “หมายเลขลำดับของใบกำกับภาษี และหมายเลขของเล่ม ถ้ามี” รายการ “ชื่อ ชนิด ประเภท ปริมาณ และมูลค่าของสินค้าหรือของบริการ” รายการ “จำนวนภาษีมูลค่าเพิ่มที่คำนวณจากมูลค่าของสินค้าหรือของบริการ โดยให้แยกออกจากมูลค่าของสินค้าหรือของบริการให้ชัดแจ้ง” รายการ “วัน เดือน ปี ที่ออกใบกำกับภาษี” รายการอื่นตามที่อธิบดีกรมสรรพากรกำหนด (ไม่ได้บังคับทุกกิจการ)– คำว่า “เอกสารออกเป็นชุด”   (กรณีกิจการทำใบกำกับภาษีเต็มรูปรวมกับเอกสารทางการค้าอื่นเช่นใบส่งของ ใบแจ้งหนี้ และเอกสารมีหลายฉบับ)– สาขาที่ออกใบกำกับภาษีคือ…  (กรณีกิจการมีสาขาที่ออกใบกำกับภาษีหลายแห่ง)– มีเลขทะเบียนรถ  (กรณีผู้ออกเป็นปั้มน้ำมัน)

by KKN การบัญชี

50 ทวิ
Bitcoin
DBD Registered
e-filing
LTF
SME
SMEs
TFRS16
Uncategorized
Voucher
กท.20 ก
กรมสรรพากร
กองทุนรวม
ก่อสร้างอาคารบนที่ดินของกรรมการ
การขอรับบริจาค
การจัดสรรกำไรสะสม
การตัดหนี้สูญ
การบริจาค
การบันทึกบัญชีเงินสดรับ-จ่าย
การประมาณการกำไรสุทธิขาดไป
การลงทุน
การลงประกาศหนังสือพิมพ์
การลดหย่อนบริจาคทั่วไป
การเช่า
กิจการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
กิจการร่วมค้า และกิจการค้าร่วม
กิจการเพื่อสังคม
กิจการโรงแรม
ขนส่ง
ขอคืนเงินประกันไฟฟ้า
ขายกิจการ
ขายสินค้าต่ำกว่าทุน
ขายสินค้าส่งออกไปต่างประเทศ
ขายหนังสือแถมคอร์สเรียนออนไลน์
คริปโทเคอร์เรนซี
ความเสี่ยง-ภาษีเงินได้นิติบุคคล
ความเสี่ยงของกิจการ
ค่าขนส่ง
ค้าขายออนไลน์
ค่าตรวจสุขภาพ
ค่าปรับ
ค่ารักษาพยาบาล
ค่ารับรอง
ค่าสินไหมทดแทน
ค่าเช่า
ค่าเช่ารับล่วงหน้า
ค่าเบี้ยประกันชีวิต
ค่าเสื่อมราคา
ค่าใช้จ่าย
ค่าใช้จ่ายของกิจการ
ค่าใช้จ่ายทางภาษี
ค่าใช้จ่ายในการอบรม
งบการเงิน
งบการเงินส่วนบุคคล
จดทะเบียน
จดทะเบียนเพิ่มสาขา
จดภาษีมูลค่าเพิ่ม
จัดตั้งบริษัท
จ้างงานผู้สูงอายุ
จ้างที่ปรึกษาต่างประเทศ
จ้างเด็กจบใหม่
ช้อปดีมีคืน
ดอกเบี้ยค้างรับ
ตราประทับ
ทรัพย์สิน
ทั่วไป
ทำประกันให้พนักงาน
ธุรกรรม
ธุรกิจขนส่ง
บริจาค
บริษัท กับ กรรมการ
บัญชีและภาษี
บิลเงินสด
ประกัน keyman
ประกันCovid-19
ประกันสังคม
ประชุมบริษัท
ประเภทเช็ค
ผลขาดทุน
ผู้ถือหุ้น
ผู้ประกอบการ
พร้อมเพย์
พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ฟรีแลนซ์
ภ.ง.ด. 1ก
ภ.ง.ด.1 ก
ภ.ง.ด.54
ภ.พ.36
ภาษี
ภาษี e-Service
ภาษีDropship
ภาษีกองทุนตราสารหนี้
ภาษีกับการออกจากงาน
ภาษีการรับมรดก
ภาษีของแพทย์
ภาษีขาย
ภาษีซื้อ
ภาษีซื้อต้องห้าม
ภาษีดอกเบีี้ย
ภาษีที่ดิน
ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง
ภาษีธุรกิจเฉพาะ
ภาษีนำเข้าสินค้า
ภาษีป้าย
ภาษีฟรีแลนซ์
ภาษีมูลค่าเพิ่ม
ภาษีรถยนต์
ภาษีหัก ณ ที่จ่าย
ภาษีอากร
ภาษีอากรนำเข้า
ภาษีอีเพย์เมนต์
ภาษีเงินปันผล
ภาษีเงินได้จากการรับให้
ภาษีเงินได้นิติบุคคล
ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย
ภาษีโรงแรม
มาตรการผู้กู้ยืม กยศ.
มูลค่าต้นทุน
ย้ายกิจการ
ยื่นแบบ
ยื่นแบบอย่างไรให้ประหยัดค่าปรับที่สุด
รถยนต์นั่ง
รถแลกเงิน
ระบบรับชำระเงินอิเล็กทรอนิกส์
ร้านกาแฟ-เสียภาษี
รายจ่ายค่าซ่อมแซม
รายจ่ายจริง
รายจ่ายต้องห้าม
รายได้อื่น
ลดหย่อนทางภาษี
ลดหย่อนภาษี
ลาออกจากงาน
วงจรเงินสด
วางระบบบัญชี
วางแผนภาษี
ศุลกากร
ส่งสินค้าทางไปรษณีย์
ส่งเสริมการขาย
สต็อกสินค้า
สรุปประเด็นภาษี
ส่วนลดกาาค้าและส่วนลดเงินสด
สวัสดิการพนักงาน
สวัสดิการอาหารพนักงาน
สัญญาขายฝาก
สัญญาซื้อ
สัญญาฝากทรัพย์
สัญญายินยอม
สัญญาเช่า
สัญญาเช่าที่ดิน
สำนักงานบัญชี
สิทธิประโยชน์ทางภาษี
หนี้สิน
อั่งเปา
อากรแสตมป์
เกษตรกับวิธีเสียภาษี
เครื่องบันทึกการเก็บเงิน
เคลมภาษีซื้อ ค่าอบรม
เงินกู้ยืมกรรมการ
เงินค่าฝึกอบรม
เงินชดใช้ค่าเสียหาย
เงินทดรองจ่าย
เงินบำนาญชราภาพ
เงินบำเหน็จ
เงินปันผล
เงินมัดจำ
เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด
เงินสมทบประกันสังคม
เงินสำรองจ่าย
เงินเรียกเก็บล่วงหน้าจากการขายสินค้า
เงินได้พนักงาน
เงินได้พึงประเมิน
เช่าซื้อ-ลิสซิ่ง
เบี้ยประกัน
เบี้ยปรับ
เปิดบริษัท
เราเที่ยวด้วยกัน
เลขประจำตัวผู้เสียอากร
เลิกทำธุรกิจ
เสน่หากับภาษ๊
เอกสารการเบิกจ่ายเงิน
เอกสารทางภาษี
เอกสารบัญชี
แจกไฟล์
แรงงานต่างด้าว
โครงการคนละครึ่ง
โทษปรับ
ใบกำกับภาษี
ใบกำกับภาษีอย่างย่อ
ใบลดหนี้
ใบลดหนี้และใบเพิ่มหนี้
ใบสำคัญจ่าย
ใบหุ้น
ใบเสนอราคา
ใบเสร็จรับเงิน