สต็อกสินค้า

บทความล่าสุด

สต็อกสินค้า

การทำลายสต็อก ไม่ใช่อยากจะทำลาย ก็ทำลายเลยได้

ทำไมต้องทำลายสินค้า 1.สินค้าที่ถูกทำลายไม่ถือเป็นการขาย ดังนั้นจะไม่ต้องเสียภาษีขาย 2.เมื่อทำลายสินค้า นิติบุคคลมีสิทธินำต้นทุนของสินค้าที่ถูกทำลายมาเป็นค่าใช้จ่ายทางภาษีได้ในรอบระยะเวลาบัญชีที่ทำลายสินค้า * แต่การทำลายสินค้าจะต้องถูกต้องตามที่สรรพากรกำหนดนะ พิจารณาสินค้าที่ต้องการทำลาย สินค้าที่ต้องการทำลายเป็นสินค้าที่เน่าเสียได้ เช่น ผลิตภัณฑ์อาหาร เวชภัณฑ์ เคมีภัณฑ์ เป็นต้น สามารถทำลายได้เลยโดยไม่ต้องแจ้งสรรพากร สินค้าที่ต้องการทำลายเป็นสินค้าสามารถเก็บรักษาได้ รอปริมาณเยอะค่อยทำลายทีเดียว เมื่อจะทำลายสินค้าจะต้องแจ้งการทำลายให้สรรพากรพื้นที่หรือสรรพากรจังหวัดทราบล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 30 วันก่อนวันทำลายสินค้า ขั้นตอนการทำลายสินค้าที่ถูกต้อง 1.ตรวจสอบสินค้าว่าเสียหายจริงหรือไม่ตามระเบียบของบริษัท ส่งให้ผู้มีอำนาจอนุมัติว่าเสียตามที่ระเบียบบริษัทกำหนด 2.กรณีที่สินค้าได้รับคืนมาจากลูกค้า บริษัทจะต้องเก็บหลักฐานการรับคืน เอกสารดังกล่าวจะต้องระบบ วันที่รับสินค้า สาเหตุการรับคืน ชนิดของสินค้า และปริมาณ เลขที่อ้างอิงการสั่งซื้อสินค้าชนิดนั้น 3.1.เมื่อได้รับอนุมัติให้ทำลาย จะมีผู้เข้าร่วมการทำลายสินค้าอย่างน้อยดังนี้ ฝ่ายคลังสินค้า ฝ่ายบัญชี ฝ่ายขายหรือฝ่ายตรวจสอบ (ถ้ามี) พร้อมผู้ตรวจสอบบัญชี เมื่อทำลายเสร็จ ให้ทุกคนลงลายมือชื่อเป็นพยานในการทำลายสินค้า สรรพากรทำ Clicklist เกี่ยวกับการทำลายสินค้า

by KKN การบัญชี

สต็อกสินค้า

สินค้าขาด /สินค้าเกินจากรายงานสินค้าคงเหลือ

ผ่านช่วงนับสต็อกประจำปีกันมาแล้ว หลายบริษัทเจอปัญหาสินค้าที่ตรวจนับได้จริงไม่ตรงกับรายงานสินค้าคงเหลือ จะต้องทำยังไงกันดี 1.สินค้าขาดจากรายงานสินค้าและวัตถุดิบ สินค้าขาดจากรายงานสินค้า ทางสรรพากรถือเป็นขายสินค้าจะต้องเสียภาษีขายด้วยราคาตลาดของสินค้า ณ วันที่ตรวจพบ จะต้องเสียเบี้ยปรับเป็น 2 เท่าของเงินภาษีที่ต้องเสีย บริษัทสามารถนำ “รายงานตรวจนับสินค้า” ใช้เป็นหลักฐานในการตัดจำนวนสินค้าที่ขาดจากรายงานสินค้าคงเหลือ เพื่อปรับยอดคงเหลือให้ตรงกับความเป็นจริง 2.สินค้าเกินจากรายงานสินค้าและวัตถุดิบ จะต้องระวางโทษปรับไม่เกิน 2,000 บาท (สินค้าเกินก็ผิด  T ^ T ) บริษัทสามารถนำ “รายงานตรวจนับสินค้า” ใช้เป็นหลักฐานในการเพิ่มจำนวนสินค้าที่เกินจากรายงานสินค้าคงเหลือ เพื่อปรับยอดคงเหลือให้ตรงกับความเป็นจริง สำหรับสินค้าทีเกินเมื่อขายก็จะต้องเสียภาษีขายด้วย

by KKN การบัญชี

สต็อกสินค้า

ค่าปรับกรณีไม่จัดทำสต็อกสินค้า

ผู้ประกอบการจดทะเบียนไม่จัดทำรายงานตามมาตรา 87 ซึ่งประกอบไปด้วย รายงานภาษีขาย รายงานภาษีซื้อ รายงานสินค้าและวัตถุดิบ เฉพาะผู้ประกอบการที่ประกอบกิจการขายสินค้า ตามมาตรา 90/3 ระบุไว้ว่าต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 6 เดือน หรือปรับไม่เกิน 10,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ Note: โดยปกติเจ้าหน้าที่จะปรับเพียง 5,000 บาท และจะสั่งให้ผู้ประกอบการไปจัดทำสต็อกย้อนหลังให้ถูกต้อง (บอกเลยทำย้อนหลังยากโครตๆๆๆๆๆๆๆ)

by KKN การบัญชี

50 ทวิ
Bitcoin
DBD Registered
e-filing
LTF
SME
SMEs
TFRS16
Uncategorized
Voucher
กท.20 ก
กรมสรรพากร
กองทุนรวม
ก่อสร้างอาคารบนที่ดินของกรรมการ
การขอรับบริจาค
การจัดสรรกำไรสะสม
การตัดหนี้สูญ
การบริจาค
การบันทึกบัญชีเงินสดรับ-จ่าย
การประมาณการกำไรสุทธิขาดไป
การลงทุน
การลงประกาศหนังสือพิมพ์
การลดหย่อนบริจาคทั่วไป
การเช่า
กิจการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
กิจการร่วมค้า และกิจการค้าร่วม
กิจการเพื่อสังคม
กิจการโรงแรม
ขนส่ง
ขอคืนเงินประกันไฟฟ้า
ขายกิจการ
ขายสินค้าต่ำกว่าทุน
ขายสินค้าส่งออกไปต่างประเทศ
ขายหนังสือแถมคอร์สเรียนออนไลน์
คริปโทเคอร์เรนซี
ความเสี่ยง-ภาษีเงินได้นิติบุคคล
ความเสี่ยงของกิจการ
ค่าขนส่ง
ค้าขายออนไลน์
ค่าตรวจสุขภาพ
ค่าปรับ
ค่ารักษาพยาบาล
ค่ารับรอง
ค่าสินไหมทดแทน
ค่าเช่า
ค่าเช่ารับล่วงหน้า
ค่าเบี้ยประกันชีวิต
ค่าเสื่อมราคา
ค่าใช้จ่าย
ค่าใช้จ่ายของกิจการ
ค่าใช้จ่ายทางภาษี
ค่าใช้จ่ายในการอบรม
งบการเงิน
งบการเงินส่วนบุคคล
จดทะเบียน
จดทะเบียนเพิ่มสาขา
จดภาษีมูลค่าเพิ่ม
จัดตั้งบริษัท
จ้างงานผู้สูงอายุ
จ้างที่ปรึกษาต่างประเทศ
จ้างเด็กจบใหม่
ช้อปดีมีคืน
ดอกเบี้ยค้างรับ
ตราประทับ
ทรัพย์สิน
ทั่วไป
ทำประกันให้พนักงาน
ธุรกรรม
ธุรกิจขนส่ง
บริจาค
บริษัท กับ กรรมการ
บัญชีและภาษี
บิลเงินสด
ประกัน keyman
ประกันCovid-19
ประกันสังคม
ประชุมบริษัท
ประเภทเช็ค
ผลขาดทุน
ผู้ถือหุ้น
ผู้ประกอบการ
พร้อมเพย์
พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ฟรีแลนซ์
ภ.ง.ด. 1ก
ภ.ง.ด.1 ก
ภ.ง.ด.54
ภ.พ.36
ภาษี
ภาษี e-Service
ภาษีDropship
ภาษีกองทุนตราสารหนี้
ภาษีกับการออกจากงาน
ภาษีการรับมรดก
ภาษีของแพทย์
ภาษีขาย
ภาษีซื้อ
ภาษีซื้อต้องห้าม
ภาษีดอกเบีี้ย
ภาษีที่ดิน
ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง
ภาษีธุรกิจเฉพาะ
ภาษีนำเข้าสินค้า
ภาษีป้าย
ภาษีฟรีแลนซ์
ภาษีมูลค่าเพิ่ม
ภาษีรถยนต์
ภาษีหัก ณ ที่จ่าย
ภาษีอากร
ภาษีอากรนำเข้า
ภาษีอีเพย์เมนต์
ภาษีเงินปันผล
ภาษีเงินได้จากการรับให้
ภาษีเงินได้นิติบุคคล
ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย
ภาษีโรงแรม
มาตรการผู้กู้ยืม กยศ.
มูลค่าต้นทุน
ย้ายกิจการ
ยื่นแบบ
ยื่นแบบอย่างไรให้ประหยัดค่าปรับที่สุด
รถยนต์นั่ง
รถแลกเงิน
ระบบรับชำระเงินอิเล็กทรอนิกส์
ร้านกาแฟ-เสียภาษี
รายจ่ายค่าซ่อมแซม
รายจ่ายจริง
รายจ่ายต้องห้าม
รายได้อื่น
ลดหย่อนทางภาษี
ลดหย่อนภาษี
ลาออกจากงาน
วงจรเงินสด
วางระบบบัญชี
วางแผนภาษี
ศุลกากร
ส่งสินค้าทางไปรษณีย์
ส่งเสริมการขาย
สต็อกสินค้า
สรุปประเด็นภาษี
ส่วนลดกาาค้าและส่วนลดเงินสด
สวัสดิการพนักงาน
สวัสดิการอาหารพนักงาน
สัญญาขายฝาก
สัญญาซื้อ
สัญญาฝากทรัพย์
สัญญายินยอม
สัญญาเช่า
สัญญาเช่าที่ดิน
สำนักงานบัญชี
สิทธิประโยชน์ทางภาษี
หนี้สิน
อั่งเปา
อากรแสตมป์
เกษตรกับวิธีเสียภาษี
เครื่องบันทึกการเก็บเงิน
เคลมภาษีซื้อ ค่าอบรม
เงินกู้ยืมกรรมการ
เงินค่าฝึกอบรม
เงินชดใช้ค่าเสียหาย
เงินทดรองจ่าย
เงินบำนาญชราภาพ
เงินบำเหน็จ
เงินปันผล
เงินมัดจำ
เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด
เงินสมทบประกันสังคม
เงินสำรองจ่าย
เงินเรียกเก็บล่วงหน้าจากการขายสินค้า
เงินได้พนักงาน
เงินได้พึงประเมิน
เช่าซื้อ-ลิสซิ่ง
เบี้ยประกัน
เบี้ยปรับ
เปิดบริษัท
เราเที่ยวด้วยกัน
เลขประจำตัวผู้เสียอากร
เลิกทำธุรกิจ
เสน่หากับภาษ๊
เอกสารการเบิกจ่ายเงิน
เอกสารทางภาษี
เอกสารบัญชี
แจกไฟล์
แรงงานต่างด้าว
โครงการคนละครึ่ง
โทษปรับ
ใบกำกับภาษี
ใบกำกับภาษีอย่างย่อ
ใบลดหนี้
ใบลดหนี้และใบเพิ่มหนี้
ใบสำคัญจ่าย
ใบหุ้น
ใบเสนอราคา
ใบเสร็จรับเงิน