ค่าใช้จ่ายทางภาษี

บทความล่าสุด

ค่าใช้จ่ายทางภาษี

ให้ของขวัญปีใหม่กับลูกค้าแบบไหน ประหยัดภาษีที่สุด

ในช่วงเทศกาลปีใหม่ทุกบริษัทก็มักจะมีการซื้อของขวัญให้กับลูกค้า และแน่นอนทุกบริษัทก็อยากที่จะประหยัดภาษีที่สุด ต้องการที่จะนำรายจ่ายค่าซื้อของขวัญให้กับลูกค้ามาบันทึกเป็นค่าใช้จ่ายทางภาษีของกิจการให้ได้ครบถ้วน 100% แอดมินจึงมาสรุปทางเลือกทั้ง 4 แบบในการให้ของขวัญกับลูกค้าเพื่อช่วยในการประหยัดภาษี ซึ่งแต่ละแบบก็จะมีข้อดีและข้อเสีย รวมถึงเงื่อนไขในการปฏิบัติที่แตกต่างกันไป ดังนั้นเราจะต้องเลือกให้เหมาะกับสถานะการณ์ครับ แต่ถ้าให้ผมเรียงลำดับความ Advance จะสามารถเรียงลำดับได้ดังนี้ 1.ให้ของขวัญผ่านค่ารับรอง แต่ข้อเสียคือจำกัดมูลค่าสูงสุดเพียงแค่ 2,000 บาทต่อครั้ง 2.ให้ของขวัญผ่านส่งเสริมการขาย ข้อดีไม่จำกัดมูลค่า แต่ข้อเสียคือโดนหัก ณ ที่จ่าย 3.ให้ของขวัญผ่านของชำร่วย/ของที่ละลึก ข้อดีคือไม่ต้องหัก ณ ที่จ่าย แต่ข้อเสียคือต้องสกรีนชื่อบริษัทหรือโลโก้ในตัวสินค้า และมูลค่าไม่ควรเกินสมควรอีก 4.ของแถม ผมว่าตัวนี้ดีมากๆเลยไม่ต้องโดนหัก ณ ที่จ่าย ไม่ต้องสกรีนชื่อสินค้า แต่เราจะต้องวางแผน Match ของที่เราจะให้ลงไปในใบกำกับภาษีขายให้ได้ แต่นักบัญชีและเจ้าของกิจการเก่งอยู่แล้วครับ

by KKN การบัญชี

ค่าใช้จ่ายทางภาษี

ค่าใช้จ่ายสวัสดิการค่าอาหารพนักงาน

👉 ค่าใช้จ่าย “สวัสดิการค่าอาหารพนักงาน” สามารถลงเป็นรายจ่ายทางภาษีได้ 👉 ถือเป็นเงินได้ของพนักงานที่ได้รับ ต้องนำมารวมในการยื่นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาด้วย (ใช้วิธีการปันส่วนรายได้ตามจำนวนพนักงานก็ได้) 👉 ภาษีซื้อที่เกิดจากสวัสดิการค่าอาหารพนักงาน ไม่ใช่ภาษีซื้อที่เกิดจากค่ารับรองจึงไม่เป็นภาษีซื้อตองห้าม บริษัทสามารถนำภาษีซื้อไปหักกับภาษีขายได้

by KKN การบัญชี

ค่าใช้จ่ายทางภาษี

ทำประกันคีย์แมน ช่วยบริหารภาษีจริงหรือไม่

สรรพากรบอกว่ากรณีที่บริษัทฯ ต้องจ่ายเบี้ยประกันชีวิตให้กรรมการทุกคนเป็นการทั่วไปตามระเบียบและมติที่ประชุมของบริษัทฯ เพื่อผลประโยชน์ของบริษัทฯ แล้ว การจ่ายเบี้ยประกันชีวิตดังกล่าวไม่ถือเป็นรายจ่ายส่วนตัวหรือการให้โดยเสน่หา บริษัทสามารถนำค่าใช้จ่ายดังกล่าวมารวมเป็นค่าใช้จ่ายในการคำนวนภาษีได้ **แต่ค่าเบี้ยประกันที่บริษัทจ่ายให้ก็ถือเป็นผลประโยชน์เพิ่มที่กรรมการได้รับจึงถือเป็นเงินได้ของกรรมการ ต้องเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาด้วย ช่วยบริหารภาษีหรือไม่ ค่าเบี้ยประกัน = ค่าใช้จ่ายบริษัท = เงินได้ของกรรมการเงินกรรมการไม่ได้ใช้เอาไปจ่ายเบี้ยประกัน เผลอๆ กรรมการบางคนเสียภาษีในอัตราที่มากกว่า 20% ด้วยซ้ำ จ่ายโบนัส = ค่าใช้จ่ายบริษัท = เงินได้ของกรรมการกรรมการเอาเงินไปใช้ได้ตามใจชอบ ฟินนนน

by KKN การบัญชี

ค่าใช้จ่ายทางภาษี

แจกของขวัญปีใหม่ให้กับลูกค้า

1.ภาษีเงินได้นิติบุคคล  ค่าใช้จ่ายนำมาเป็นค่าใช้จ่ายได้ไม่เกินคนละ 2,000 บาทในแต่ละคราว 2.ภาษีมูลค่าเพิ่ม  ภาษีซื้อที่เกิดจากการซื้อของขวัญแจกเป็นภาษีซื้อต้องห้าม *ถ้าให้ดีอย่าลืมแนบนามบัตรของกิจการ และถ่ายรูปเป็นหลักฐานด้วยนะครับ สาเหตุที่ในบัญชีธนาคารของบริษัทไม่ตรงกับการบันทึกบัญชี 1.เจ้าของบริษัทไม่มีเงินจริงตามที่จดทะเบียนบริษัท (ไม่ตรงตั้งแต่เริ่มกิจการเลย T ^ T)2.ใช้เงินบริษัทกับส่วนตัวปนกันมั่วไปหมด เจ้าของควรจะกำหนดเงินเดือนตัวเองขึ้นและไม่ใช้เงินบริษัทในเรื่องส่วนตัว3.ลูกค้าโอนเงินค่าสินค้าหรือบริการ เข้าบัญชีส่วนตัวของเจ้าของแทนเข้าบัญชีบริษัท4.ใช้เงินส่วนตัวจ่ายค่าใช้จ่ายแทนบริษัท เพื่อความสะดวกและง่าย

by KKN การบัญชี

กรมสรรพากร

อะไรนะ ไม่มีบิล ก็เอามาเป็นค่าใช้จ่ายทางภาษีได้!!

สรรพากรได้เข้าใจในเรื่องของประเด็นค่าใช้จ่ายที่มีการจ่ายเงินจริง แต่ไม่มีหลักฐานที่เพียงพอ จึงได้ออกแนวทางช่วยเหลือ ผู้ประกอบการที่น่าสงสารแบบพวกเรา ประเด็นค่าใช้จ่ายที่มีการจ่ายเงินจริง แต่ไม่มีหลักฐาน เอกสารประกอบการบันทึกบัญชี กรณีหลักฐานไม่เพียงพอ 1.เอกสารการรับเงิน •ใบรับเงิน •ใบสำคัญรับเงิน •ใบรับรองแทนใบสำคัญรับเงิน 2.จัดทำใบสำคัญจ่าย (Payment Voucher) ใช้สำหรับกรณีไม่มีหลักฐานตาม (ข้อ 1) ใบสำคัญจ่ายจะต้องมีข้อมูลระบุดังนี้ •ชื่อ ที่อยู่ เลขบัตรประจำตัวผู้เสียภาษีอากร ของผู้รับเงิน •วันที่จ่ายเงิน •ระบุประเภทรายการที่จ่ายและจำนวนเงินที่จ่าย •ลงลายมือชื่อผู้รับเงินไว้เป็นหลักฐาน •มีการลงนามอนุมัติจ่ายโดยผู้มีอำนาจเท่านั้น •แนบหลักฐานการจ่ายเงินเช่น สำเนาเช็ค, หลักฐานการโอนเงิน •แนบสำหรับบัตรประชาชน (กรณีที่จ่ายเป็นเงินสด) 3.หากจ่ายค่าบริการอย่าลืมหัก ณ ที่จ่าย ใบรับเงิน : ใช้กรณีผู้รับเงินยินยอมออกใบรับเงิน ใบสำคัญรับเงิน : ใช้กรณีผู้รับเงินไม่สามารถออกใบเสร็จรับเงินให้ได้ แต่ยินยอมจะลงรายมือชื่อในช่อง “ผู้รับเงิน” ใบรับรองแทนใบเสร็จรับเงิน : ใช้กรณีใช้ในกรณีกิจการจ่ายเงินค่าซื้อสินค้าหรือบริการเบ็ดเตล็ดแต่ไม่สามารถเรียกใบเสร็จรับเงินจากผู้ขายหรือผู้ให้บริการได้ต้องให้พนักงานของกิจการเป็นผู้รับรองการจ่ายเงินดังกล่าว

by KKN การบัญชี

ค่าใช้จ่ายทางภาษี

บิลค่าไฟฟ้าเป็นชื่อบุคคลเอามาเป็นค่าใช้จ่ายทางภาษีได้หรือไม่

1. ภาษีเงินได้นิติบุคคล      ค่าไฟฟ้า ค่าน้ำประปา ค่าโทรศัพท์ ที่มีใบเสร็จรับเงินออกในนามของเจ้าของอาคารผู้ให้เช่า บริษัทสามารถนำมาถือเป็นรายจ่ายในการคำนวณกำไรสุทธิเพื่อเสียภาษีเงินได้นิติบุคคลได้ เนื่องจากเป็นรายจ่ายเพื่อกิจการ 2. ภาษีมูลค่าเพิ่ม      ส่วนภาษีซื้อที่ปรากฏในใบกำกับภาษีที่ออกในนามของเจ้าของอาคารผู้ให้เช่านั้น บริษัทไม่สามารถนำมาเป็นภาษีซื้อได้ เนื่องจากใบกำกับภาษีไม่ได้แสดงชื่อของบริษัท

by KKN การบัญชี

50 ทวิ
Bitcoin
DBD Registered
e-filing
LTF
SME
SMEs
TFRS16
Uncategorized
Voucher
กท.20 ก
กรมสรรพากร
กองทุนรวม
ก่อสร้างอาคารบนที่ดินของกรรมการ
การขอรับบริจาค
การจัดสรรกำไรสะสม
การตัดหนี้สูญ
การบริจาค
การบันทึกบัญชีเงินสดรับ-จ่าย
การประมาณการกำไรสุทธิขาดไป
การลงทุน
การลงประกาศหนังสือพิมพ์
การลดหย่อนบริจาคทั่วไป
การเช่า
กิจการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
กิจการร่วมค้า และกิจการค้าร่วม
กิจการเพื่อสังคม
กิจการโรงแรม
ขนส่ง
ขอคืนเงินประกันไฟฟ้า
ขายกิจการ
ขายสินค้าต่ำกว่าทุน
ขายสินค้าส่งออกไปต่างประเทศ
ขายหนังสือแถมคอร์สเรียนออนไลน์
คริปโทเคอร์เรนซี
ความเสี่ยง-ภาษีเงินได้นิติบุคคล
ความเสี่ยงของกิจการ
ค่าขนส่ง
ค้าขายออนไลน์
ค่าตรวจสุขภาพ
ค่าปรับ
ค่ารักษาพยาบาล
ค่ารับรอง
ค่าสินไหมทดแทน
ค่าเช่า
ค่าเช่ารับล่วงหน้า
ค่าเบี้ยประกันชีวิต
ค่าเสื่อมราคา
ค่าใช้จ่าย
ค่าใช้จ่ายของกิจการ
ค่าใช้จ่ายทางภาษี
ค่าใช้จ่ายในการอบรม
งบการเงิน
งบการเงินส่วนบุคคล
จดทะเบียน
จดทะเบียนเพิ่มสาขา
จดภาษีมูลค่าเพิ่ม
จัดตั้งบริษัท
จ้างงานผู้สูงอายุ
จ้างที่ปรึกษาต่างประเทศ
จ้างเด็กจบใหม่
ช้อปดีมีคืน
ดอกเบี้ยค้างรับ
ตราประทับ
ทรัพย์สิน
ทั่วไป
ทำประกันให้พนักงาน
ธุรกรรม
ธุรกิจขนส่ง
บริจาค
บริษัท กับ กรรมการ
บัญชีและภาษี
บิลเงินสด
ประกัน keyman
ประกันCovid-19
ประกันสังคม
ประชุมบริษัท
ประเภทเช็ค
ผลขาดทุน
ผู้ถือหุ้น
ผู้ประกอบการ
พร้อมเพย์
พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ฟรีแลนซ์
ภ.ง.ด. 1ก
ภ.ง.ด.1 ก
ภ.ง.ด.54
ภ.พ.36
ภาษี
ภาษี e-Service
ภาษีDropship
ภาษีกองทุนตราสารหนี้
ภาษีกับการออกจากงาน
ภาษีการรับมรดก
ภาษีของแพทย์
ภาษีขาย
ภาษีซื้อ
ภาษีซื้อต้องห้าม
ภาษีดอกเบีี้ย
ภาษีที่ดิน
ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง
ภาษีธุรกิจเฉพาะ
ภาษีนำเข้าสินค้า
ภาษีป้าย
ภาษีฟรีแลนซ์
ภาษีมูลค่าเพิ่ม
ภาษีรถยนต์
ภาษีหัก ณ ที่จ่าย
ภาษีอากร
ภาษีอากรนำเข้า
ภาษีอีเพย์เมนต์
ภาษีเงินปันผล
ภาษีเงินได้จากการรับให้
ภาษีเงินได้นิติบุคคล
ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย
ภาษีโรงแรม
มาตรการผู้กู้ยืม กยศ.
มูลค่าต้นทุน
ย้ายกิจการ
ยื่นแบบ
ยื่นแบบอย่างไรให้ประหยัดค่าปรับที่สุด
รถยนต์นั่ง
รถแลกเงิน
ระบบรับชำระเงินอิเล็กทรอนิกส์
ร้านกาแฟ-เสียภาษี
รายจ่ายค่าซ่อมแซม
รายจ่ายจริง
รายจ่ายต้องห้าม
รายได้อื่น
ลดหย่อนทางภาษี
ลดหย่อนภาษี
ลาออกจากงาน
วงจรเงินสด
วางระบบบัญชี
วางแผนภาษี
ศุลกากร
ส่งสินค้าทางไปรษณีย์
ส่งเสริมการขาย
สต็อกสินค้า
สรุปประเด็นภาษี
ส่วนลดกาาค้าและส่วนลดเงินสด
สวัสดิการพนักงาน
สวัสดิการอาหารพนักงาน
สัญญาขายฝาก
สัญญาซื้อ
สัญญาฝากทรัพย์
สัญญายินยอม
สัญญาเช่า
สัญญาเช่าที่ดิน
สำนักงานบัญชี
สิทธิประโยชน์ทางภาษี
หนี้สิน
อั่งเปา
อากรแสตมป์
เกษตรกับวิธีเสียภาษี
เครื่องบันทึกการเก็บเงิน
เคลมภาษีซื้อ ค่าอบรม
เงินกู้ยืมกรรมการ
เงินค่าฝึกอบรม
เงินชดใช้ค่าเสียหาย
เงินทดรองจ่าย
เงินบำนาญชราภาพ
เงินบำเหน็จ
เงินปันผล
เงินมัดจำ
เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด
เงินสมทบประกันสังคม
เงินสำรองจ่าย
เงินเรียกเก็บล่วงหน้าจากการขายสินค้า
เงินได้พนักงาน
เงินได้พึงประเมิน
เช่าซื้อ-ลิสซิ่ง
เบี้ยประกัน
เบี้ยปรับ
เปิดบริษัท
เราเที่ยวด้วยกัน
เลขประจำตัวผู้เสียอากร
เลิกทำธุรกิจ
เสน่หากับภาษ๊
เอกสารการเบิกจ่ายเงิน
เอกสารทางภาษี
เอกสารบัญชี
แจกไฟล์
แรงงานต่างด้าว
โครงการคนละครึ่ง
โทษปรับ
ใบกำกับภาษี
ใบกำกับภาษีอย่างย่อ
ใบลดหนี้
ใบลดหนี้และใบเพิ่มหนี้
ใบสำคัญจ่าย
ใบหุ้น
ใบเสนอราคา
ใบเสร็จรับเงิน