ภาษี

บทความล่าสุด

ภาษี

เปิดบริษัทต้องเสียภาษีอะไรบ้าง

ข้อที่ควรรู้เกี่ยวกับภาษี ภาษีเงินได้นิติบุคคลกับภาษีมูลค่าเพิ่มไม่ใช่ญาติกัน ดังนั้นในระหว่างเดือนเสียภาษีมูลค่าเพิ่มแล้ว สิ้นปีก็ยังคงต้องเสียภาษีเงินได้นิติบุคคลอยู่ดี ภาษีถูกหัก ณ ที่จ่าย คือภาษีนิติบุคคลที่บริษัทจ่ายล่วงหน้าให้กับกรมสรรพากร สิ้นปีคำนวณภาษีเงินได้นิติบุคคลได้เท่าไหร่ ก็ให้นำภาษีถูกหัก ณ ที่จ่ายมาหักออก แล้วจ่ายส่วนต่างเพิ่ม กรณีภาษีถูกหักมากกว่าภาษีที่คำนวณได้สามารถขอคืนภาษีได้ (ถ้ากล้า) ภาษีมูลค่าเพิ่ม กับ ภาษีธุรกิจเฉพาะเป็นญาติกัน รายได้ที่เสียภาษีมูลค่าเพิ่มแล้วไม่ต้องเสียภาษีธุรกิจเฉพาะอีก หรือเสียภาษีธุรกิจเฉพาะแล้วก็ไม่ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม (เลือกเสียแค่ 1 ภาษีเท่านั้น

by KKN การบัญชี

ค่ารับรอง

เงินใส่ซองงานแต่งถือเป็นค่ารับรองหรือไม่❓

เงินใส่ซองงานแต่งลูกค้า และเงินสนับสนุนของรางวัลจัดงานปีใหม่บริษัทลูกค้า สามารถนำมาลงเป็นค่ารับรองได้หรือไม่ ✍️ รายจ่ายค่ารับรองค่าบริการ 👉บุคคลซึ่งได้รับรองหรือรับบริการต้องมิใช่ลูกจ้างของบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล เว้นแต่ ลูกจ้างดังกล่าวจะมีหน้าที่เข้าร่วมในการรับรองหรือรับบริการนั้นด้วย และเกี่ยวเนื่องโดยตรงกับการรับรอง เช่น ค่าที่พัก ค่าอาหาร ค่าเครื่องดื่ม ค่าดูมหรสพ 👉เป็นค่าสิ่งของให้ไม่เกินคนละ 2,000 บาท นำมาหักได้แต่ไม่เกิน 0.3% ของรายได้ที่ต้องนำมาคำนวณกำไรสุทธิ และจะต้องมีจำนวนสูงสุดไม่เกิน 10 ล้านบาท

by KKN การบัญชี

ภาษี

ยื่นภาษีเดือนใหม่ไม่ต้องเสียเวลา Key ข้อมูลใหม่ ด้วยเทคนิคการ Copy ข้อมูล

มีหลายท่านสอบถามมาว่าเวลายื่นภาษี ภ.ง.ด.1 ต้องเสียเวลามา Key ข้อมูลพนักงานใหม่ทุกเดือนหรือไม่ พอดีวิธีไหนที่ช่วยได้บ้าง แอดมินได้ไปทำการบ้านสืบเสาะหาวิธีให้เรียบร้อยแล้ว เวลาที่เราใช้โปรแกรม RD Prep ของกรมสรรพากรในการจัดเตรียมข้อมูลเพื่อใช้สำหรับยื่นภาษี เมื่อเตรียมข้อมูลเสร็จเรียบร้อยแล้วระบบจะทำการ Save ข้อมูลการยื่นแบบภาษีเอาไว้ในโปรแกรม เราสามารถ Copy ข้อมูลการยื่นภาษีของเดือนก่อนหน้า เพื่อมาใช้ยื่นภาษีในเดือนปัจจุบันได้ครับ เรียกว่าโปรแกรมใหม่นี้ ความสามารถรอบด้านจริงๆ เลยครับ เหลือแค่แก้ไข Bug เล็กๆ น้อยๆ ก็จะสมบูรณ์ ปล. มีหลายท่านสอบถามเข้ามาเยอะว่าข้อมูลที่ copy สามารถแก้ไขได้หรือไม่ ผมได้เพิ่มภาพวิธีการแก้ไขข้อมูลให้เรียบร้อยแล้วครับ

by KKN การบัญชี

ภาษี

นำสินค้าไปบริจาค กระทบภาษีและบันทึกบัญชีอย่างไร

ในช่วงวิกฤตโควิดนี้ มีหลายกิจการอยากที่จะมีส่วนร่วมในการช่วยเหลือสังคม โดยการบริจาคสินค้าของกิจการให้กับหน่วยงานต่างๆ เช่น โรงพยาบาลของรัฐ แต่ก็มีความกังวลว่าบริษัทไปแล้วจะมีภาษีอะไรบ้างที่กิจการจะต้องให้ความระมัดระวัง รวมถึงในเรื่องของการบันทึกบัญชีและตัดสต็อกจะต้องทำอย่างไร วันนี้แอดมินมาสรุปประเด็นเกี่ยวกับการบริจาคสินค้าให้ครับ

by KKN การบัญชี

ภาษี

Live สดขายของต้องเสียภาษีหรือไม่?

“พี่ครับ ผมไลฟ์สดขายของทาง Facebook ต้องเสียภาษีมั้ยครับ” แน่นอนครับน้องไม่ว่าจะขายผ่านช่องทางไหน หรือขายแบบแบบไหนต้องเสียภาษีหมด จำเอาไว้สั้นๆ “มีรายได้ ต้องจ่ายภาษี” “แล้วต้องเสียภาษีอะไรบ้าง” คำถามของน้องมันสั้นมาก แต่เวลาตอบนี่โครตยาว พี่ขอเอาไปทำโพสเลยดีกว่าคนอื่นจะได้รู้ด้วย เวลาที่ธุรกิจจะมี 2 ภาษีหลักที่มาเกี่ยวข้องกับชีวิติของเรา ภาษีเงินได้ ภาษีมูลค่าเพิ่ม ในโพสนี้จะพูดถึงกรณีที่ทำธุรกิจในรูปแบบบุคคลธรรมดานะครับ สำหรับนิติบุคคลเชื่อว่าผู้ประกอบการน่าจะศึกษาข้อมูลเรื่องการจัดทำบัญชีและการเสียภาษีก่อนเริ่มจดทะเบียนบริษัทเรียบร้อยแล้ว (มั้งนะ) ภาษีเงินได้ ถ้าเราประกอบกิจการในรูปแบบของบุคคลธรรมดา เราจะต้องเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา และในการเสียภาษีเงินได้บุคคลนั้นจะคำนวนจากกำไรจากการประกอบธุรกิจ โดยมีสูตรคำนวนดังนี้ ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา = เงินได้สุทธิสำหรับคำนวนภาษี X อัตราภาษี*เงินได้สุทธิสำหรับคำนวนภาษี = (รายได้ – ค่าใช้จ่าย – ค่าลดหย่อน)**อัตราภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาปัจจุบันอยู่ที่ 5 – 35% ดังนั้นคำถามที่ว่ารายได้ 1 ล้านบาทเสียภาษีกี่บาท รายได้ xxx บาทเสียภาษีกี่บาท แอดมินตอบไม่ได้เราต้องไปดูที่กำไร ว่ามีกำไรจากการประกอบธุรกิจกี่บาทถึงจะคำนวนภาษีได้ นอกจากนี้บุคคลธรรมดามีความพิเศษในเรื่องของค่าใช้จ่าย กรณีที่คุณประกอบธุรกิจขายสินค้าโดยที่คุณไม่ได้ผลิตเองสามารถเลือกหักค่าใช้จ่ายได้ 2 แบบดังนี้ (1) หักค่าใช้จ่ายแบบเหมา 60% […]

by KKN การบัญชี

ภาษี

เปลี่ยนจากบุคคลธรรมดาเป็นนิติบุคคลต้องเสียภาษีอะไรบ้าง

มีผู้ประกอบการหลายท่าน Inbox มาปรึกษาว่าตอนนี้เค้าทำธุรกิจอยู่ในรูปแบบของบุคคลธรรมดา และธุรกิจมีแนวโน้มไปได้ดีปีที่ผ่านมาเสียภาษีแบบเหมาอัตราค่าใช้จ่ายซึ่งเสียไปเยอะมาก และรายได้ก็เกิน 1.8 ล้านบาทต่อปี เลยอยากที่จะวางแผนเปลี่ยนจากบุคคลธรรมดาเป็นนิติบุคคล คำถามคือถ้าโอนกิจการจากบุคคลเป็นนิติบุคคลได้มั้ย และเสียภาษีเท่าไหร่ วันนี้แอดมินสรุปภาษีที่เกี่ยวข้องกับการโอนกิจการมาให้ทุกคนเพื่อใช้ในการวางาแผนภาษีกันนะครับ

by KKN การบัญชี

ภาษี

ภาษีสามารถผ่อนชำระได้ 0% 3 เดือน

ภาษีผ่อนได้ + เงื่อนไข(นิดหน่อย)มีภาษีที่ต้องชำระจำนวนตั้งแต่ 3,000 บาทขึ้นไป ทั้งภาษีครึ่งปี และภาษีสิ้นปีผู้เสียภาษีมีสิทธิ ขอผ่อนชำระภาษีได้เป็น 3 งวด งวดละเท่า ๆ กัน โดยไม่ต้องเสียเงินเพิ่มใดๆ แต่ถ้ามีภาษีงวดใดงวดหนึ่ง ไม่ได้ชำระภายในกำหนด ผู้เสียภาษีจะหมดสิทธิ์ชำระเป็นรายงวด และ +เสียเงินเพิ่ม อัตราร้อยละ 1.5 /เดือน หรือ เศษของของเดือนของเงินภาษีงวดที่เหลือ ช่องทางการผ่อนชำระภาษี1. สามารถผ่อนชำระภาษีได้ที่สำนักงานสรรพากรพื้นที่สาขาแต่จะไม่สามารถชำระผ่านบัตรเครดิต หรือ บัตร Tax Smart Card ได้ และหากเลือกชำระภาษีที่สำนักงานสรรพากรพื้นที่สาขาแล้ว งวดต่อไปก็ต้องชำระที่สำนักงานสรรพากรพื้นที่สาขาเท่านั้น2. การผ่อนชำระภาษีนั้น สามารถเลือกชำระได้ผ่านทางอิเล็กทรอนิกส์ ด้วยช่องทางต่าง ๆ ดังต่อไปนี้– บัตรเครดิตบนอินเทอร์เน็ต– ตู้ ATM ของธนาคารที่เข้าร่วมโครงการ– Internet Banking ของธนาคารที่เข้าร่วมโครงการ– Counter Service ของธนาคารและจุดชำระเงินต่าง ๆ ที่เข้าร่วมโครงการ– Pay at post ของที่ทำการไปรษณีย์– […]

by KKN การบัญชี

ภาษี

มีหลายสาขา ยื่นภาษียังไง

ดำเนินงานกิจการ : จดทะเบียนในนามบุคคลธรรมดา จดทะเบียนในนามบุคคลธรรมดา ทำธุรกิจมากกว่า 1 สาขา ต้องนำรายได้จากผลประกอบการของทุกสาขามารวมคำนวณ และสามารถยื่นในนามบุคคลธรรมดาได้เลย ดำเนินงานกิจการ : จดทะเบียนในนามนิติบุคคล มากกว่า 1 สาขา – เลขนิติบุคคลเดียวกัน : สามารถนำรายได้จากผลประกอบการของทุกสาขามารวมคำนวณ และสามารถยื่นในนามนิติบุคคลได้เลย มากกว่า 1 สาขา – เลขนิติบุคคลต่างกัน : กิจการที่มีลักษณะของแฟรนไชส์ที่มีชื่อกิจการเดียวกัน แต่มีการแยกจดทะเบียนนิติบุคคลหรือมีเลขจดทะเบียนนิติบุคคลที่ต่างกัน จะไม่สามารถนำรายได้หรือผลประกอบการของทุกสาขามายื่นภาษีรวมกันได้ และจะต้องแยกยื่นกัน

by KKN การบัญชี

ภาษี

ส่วนแบ่งรายได้จาก FB, Youtube เสียภาษีอย่างไร

กิจการไม่ได้เป็นผู้ให้บริการโฆษณาเอง แต่ได้รับผลพลอยได้จากการให้บริการโฆษณา Facebook ที่ทำคลิปวิดีโอของกิจการมีรายได้ เข้าลักษณะ “เป็นรายได้จากการอุดหนุนให้เปล่า” ภาษีเงินได้นิติบุคคลกิจการต้องนำรายได้จากการอุดหนุนให้เปล่ามารวมคำนวณกำไรสุทธิเพี่อเสียภาษีเงินได้นิติบุคคล ในรอบระยะเวลาบัญชีที่ได้รับเงินได้[ถ้าเป็นบุคคลธรรมดาก็ต้องนำรายได้รวมคำนวนภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาด้วย] ภาษีมูลค่าเพิ่มรายได้จากการอุดหนุนให้เปล่า ไม่เข้าลักษณะเป็นรายได้จากการให้บริการที่ไม่อยู่ในบังคับที่ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม (Out of VAT Scope) อากรแสตมป์ไม่มีการกระทำตราสารที่ต้องปิดอากรแสตมป์บริบูรณ์ตามบัญชีอัตราอากรแสตมป์ ที่มาhttps://www.facebook.com/573386346045679/posts/2905270359523921/?d=n

by KKN การบัญชี

50 ทวิ
Bitcoin
DBD Registered
e-filing
LTF
SME
SMEs
TFRS16
Uncategorized
Voucher
กท.20 ก
กรมสรรพากร
กองทุนรวม
ก่อสร้างอาคารบนที่ดินของกรรมการ
การขอรับบริจาค
การจัดสรรกำไรสะสม
การตัดหนี้สูญ
การบริจาค
การบันทึกบัญชีเงินสดรับ-จ่าย
การประมาณการกำไรสุทธิขาดไป
การลงทุน
การลงประกาศหนังสือพิมพ์
การลดหย่อนบริจาคทั่วไป
การเช่า
กิจการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
กิจการร่วมค้า และกิจการค้าร่วม
กิจการเพื่อสังคม
กิจการโรงแรม
ขนส่ง
ขอคืนเงินประกันไฟฟ้า
ขายกิจการ
ขายสินค้าต่ำกว่าทุน
ขายสินค้าส่งออกไปต่างประเทศ
ขายหนังสือแถมคอร์สเรียนออนไลน์
คริปโทเคอร์เรนซี
ความเสี่ยง-ภาษีเงินได้นิติบุคคล
ความเสี่ยงของกิจการ
ค่าขนส่ง
ค้าขายออนไลน์
ค่าตรวจสุขภาพ
ค่าปรับ
ค่ารักษาพยาบาล
ค่ารับรอง
ค่าสินไหมทดแทน
ค่าเช่า
ค่าเช่ารับล่วงหน้า
ค่าเบี้ยประกันชีวิต
ค่าเสื่อมราคา
ค่าใช้จ่าย
ค่าใช้จ่ายของกิจการ
ค่าใช้จ่ายทางภาษี
ค่าใช้จ่ายในการอบรม
งบการเงิน
งบการเงินส่วนบุคคล
จดทะเบียน
จดทะเบียนเพิ่มสาขา
จดภาษีมูลค่าเพิ่ม
จัดตั้งบริษัท
จ้างงานผู้สูงอายุ
จ้างที่ปรึกษาต่างประเทศ
จ้างเด็กจบใหม่
ช้อปดีมีคืน
ดอกเบี้ยค้างรับ
ตราประทับ
ทรัพย์สิน
ทั่วไป
ทำประกันให้พนักงาน
ธุรกรรม
ธุรกิจขนส่ง
บริจาค
บริษัท กับ กรรมการ
บัญชีและภาษี
บิลเงินสด
ประกัน keyman
ประกันCovid-19
ประกันสังคม
ประชุมบริษัท
ประเภทเช็ค
ผลขาดทุน
ผู้ถือหุ้น
ผู้ประกอบการ
พร้อมเพย์
พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ฟรีแลนซ์
ภ.ง.ด. 1ก
ภ.ง.ด.1 ก
ภ.ง.ด.54
ภ.พ.36
ภาษี
ภาษี e-Service
ภาษีDropship
ภาษีกองทุนตราสารหนี้
ภาษีกับการออกจากงาน
ภาษีการรับมรดก
ภาษีของแพทย์
ภาษีขาย
ภาษีซื้อ
ภาษีซื้อต้องห้าม
ภาษีดอกเบีี้ย
ภาษีที่ดิน
ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง
ภาษีธุรกิจเฉพาะ
ภาษีนำเข้าสินค้า
ภาษีป้าย
ภาษีฟรีแลนซ์
ภาษีมูลค่าเพิ่ม
ภาษีรถยนต์
ภาษีหัก ณ ที่จ่าย
ภาษีอากร
ภาษีอากรนำเข้า
ภาษีอีเพย์เมนต์
ภาษีเงินปันผล
ภาษีเงินได้จากการรับให้
ภาษีเงินได้นิติบุคคล
ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย
ภาษีโรงแรม
มาตรการผู้กู้ยืม กยศ.
มูลค่าต้นทุน
ย้ายกิจการ
ยื่นแบบ
ยื่นแบบอย่างไรให้ประหยัดค่าปรับที่สุด
รถยนต์นั่ง
รถแลกเงิน
ระบบรับชำระเงินอิเล็กทรอนิกส์
ร้านกาแฟ-เสียภาษี
รายจ่ายค่าซ่อมแซม
รายจ่ายจริง
รายจ่ายต้องห้าม
รายได้อื่น
ลดหย่อนทางภาษี
ลดหย่อนภาษี
ลาออกจากงาน
วงจรเงินสด
วางระบบบัญชี
วางแผนภาษี
ศุลกากร
ส่งสินค้าทางไปรษณีย์
ส่งเสริมการขาย
สต็อกสินค้า
สรุปประเด็นภาษี
ส่วนลดกาาค้าและส่วนลดเงินสด
สวัสดิการพนักงาน
สวัสดิการอาหารพนักงาน
สัญญาขายฝาก
สัญญาซื้อ
สัญญาฝากทรัพย์
สัญญายินยอม
สัญญาเช่า
สัญญาเช่าที่ดิน
สำนักงานบัญชี
สิทธิประโยชน์ทางภาษี
หนี้สิน
อั่งเปา
อากรแสตมป์
เกษตรกับวิธีเสียภาษี
เครื่องบันทึกการเก็บเงิน
เคลมภาษีซื้อ ค่าอบรม
เงินกู้ยืมกรรมการ
เงินค่าฝึกอบรม
เงินชดใช้ค่าเสียหาย
เงินทดรองจ่าย
เงินบำนาญชราภาพ
เงินบำเหน็จ
เงินปันผล
เงินมัดจำ
เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด
เงินสมทบประกันสังคม
เงินสำรองจ่าย
เงินเรียกเก็บล่วงหน้าจากการขายสินค้า
เงินได้พนักงาน
เงินได้พึงประเมิน
เช่าซื้อ-ลิสซิ่ง
เบี้ยประกัน
เบี้ยปรับ
เปิดบริษัท
เราเที่ยวด้วยกัน
เลขประจำตัวผู้เสียอากร
เลิกทำธุรกิจ
เสน่หากับภาษ๊
เอกสารการเบิกจ่ายเงิน
เอกสารทางภาษี
เอกสารบัญชี
แจกไฟล์
แรงงานต่างด้าว
โครงการคนละครึ่ง
โทษปรับ
ใบกำกับภาษี
ใบกำกับภาษีอย่างย่อ
ใบลดหนี้
ใบลดหนี้และใบเพิ่มหนี้
ใบสำคัญจ่าย
ใบหุ้น
ใบเสนอราคา
ใบเสร็จรับเงิน