ลดหย่อนทางภาษี

บทความล่าสุด

ลดหย่อนทางภาษี

สิทธิค่าลดหย่อน “ค่าเบี้ยประกันชีวิตบิดาและมารดา”

คำถาม : นายนัทเป็นบุตรที่รักคุณแม่มาก (คุณแม่อายุ 65 ปี) โดยในระหว่างปีนายนัทได้ทำประกันชีวิตให้กับคุณแม่เป็นจำนวนเงินถึง 20,000 บาท ตอนยื่นภาษีประจำปีนายนัทสามารถนำค่าลดหย่อนค่าเบี้ยประกันชีวิติมารดามาใช้สิทธิลดหย่อนได้หรือไม่ คำตอบ : ไม่สามารถใช้สิทธิลดหย่อนได้ เพราะว่า กฎหมายมีแต่ค่าลดหย่อนเบี้ยประกันสุขภาพบิดามารดาเท่านั้น (ตามที่จ่ายไปจริงแต่ไมเกิน 15,000 บาท)

by KKN การบัญชี

ลดหย่อนทางภาษี

ไม่ได้จดทะเบียนสมรส ใช้สิทธิลดหย่อนบุตรได้หรือไม่

คำถาม : นายนัทแต่งงานกับนางสาวโบ แต่ไม่ได้จดทะเบียนสมรสกันต่อมามีบุตร 1 คน ซึ่งนายนัทและนางสาวโบต่างคนต่างมีรายได้ สิ้นปีทั้งนายนัทสามารถใช้สิทธิลดหย่อนบุตรได้หรือไม่ คำตอบ : ไม่สามารถใช้สิทธิลดหย่อนได้ เพราะว่า พ่อกับแม่ถ้าไม่ได้จดทะเบียนสมรสกันบุตรที่เกิดมาจะไม่ใช่บุตรที่ชอบด้วยกฎหมายของพ่อ ดังนั้นพ่อจะไม่สามารถใช้สิทธิค่าลดหย่อนบุตรได้จนกว่าจะไปจดทะเบียนรับรองบุตร หรือศาลพิพากษาให้เป็นบุตร หรือพ่อและแม่ได้จดทะเบียนสมรสกับภายหลัง แม่สามารถใช้สิทธิลดหย่อนบุตรได้ทันทีแม่จะไม่ได้จดทะเบียนสมรสกับพ่อ ปล. การแบ่งสิทธิลดหย่อนบุตรคนละครึ่งเป็นเงื่อนไขในอดีตที่ถูกยกเลิกไปแล้ว ปัจจุบันนี้กรณีพ่อและแม่แยกกันยื่นภาษีสามารถใช้สิทธิลดหย่อนบุตรได้เต็มคนละ 30,000 บาท

by KKN การบัญชี

ลดหย่อนทางภาษี

บุตรอายุเกินเท่าไหร่ ไม่สามารถใช้สิทธิลดหย่อนบุตรได้

ตัวอย่าง : นายนัทมีบุตร 1 คนอายุ 21 ปี ซึ่งเกินปี 2560 ปัจจุบันกำลังศึกษาอยู่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 นายนัทสามารถใช้สิทธิค่าลดหย่อนบุตรได้กี่บาท คำตอบ : ไม่สามารถใช้สิทธิลดหย่อนได้ โดยมีเกณฑ์ดังต่อไปนี้ เกณฑ์อายุ อายุไม่ถึง 20 ปี อายุ 20 – 25 ปี แต่ต้องเรียนอยู่ในระดับอนุปริญญา (ปวส.) หรือปริญญาตรีขึ้นไป อายุเท่าไหร่ก็ได้ แต่ต้องถูกศาลสั่งให้เป็นคนไร้ความสามารถหรือเสมือนไร้ความสามารถ เกณฑ์รายได้ บุตรจะต้องไม่มีรายได้หรือมีรายได้ไม่เกินปีละ 30,000 บาท สิทธิลดหย่อน บุตรคนละ 30,000 บาท และบุตรคนที่ 2 ที่เกิดในปี 2561 หรือหลังจะสามารถใช้สิทธิลดหย่อนบุตรตั้งแต่คนที่ 2 เป็นต้นไปคนละ 60,000 บาท

by KKN การบัญชี

ลดหย่อนทางภาษี

ภริยาไม่มีเงินได้ สามีใช้สิทธิลดหย่อนภริยาแล้ว บุตรได้สิทธิมารดาได้หรือไม่

คำถาม : ภริยาอายุ 65 ปีไม่มีเงินได้ สามียังทำงานประจำอยู่เลยใช้สิทธิลดหย่อนภริยา 60,000 บาท ภริยามีลูกอายุ 30 ปีทำงานประจำจะใช้สิทธิค่าเลี้ยงดูมารดาอีก 30,000 บาทได้หรือไม่ คำตอบ : ได้ เพราะว่าเป็นสิทธิตามค่าลดหย่อน และไม่ถือว่าเป็นการใช้สิทธิค่าลดหย่อนซ้ำ เพราะอยู่คนละรายการค่าลดหย่อน

by KKN การบัญชี

ลดหย่อนทางภาษี

สามีและภริยาไม่ได้จดทะเบียนสมรสกัน จะใช้ลดหย่อนคู่สมรสได้หรือไม่

ตัวอย่าง : รักกันแต่ไม่อยากจดทะเบียนสมรส เพราะเดี๋ยวจะยุ่งยากในการทำธุรกรรมต่างๆ สามีสามารถใช้สิทธิลดหย่อนคู่สมรสได้หรือไม่ คำตอบ : ไม่ได้จดทะเบียนสมรส = สถานะ “โสด”

by KKN การบัญชี

ลดหย่อนทางภาษี

ภริยามีเงินได้จากดอกเบี้ยเงินฝาก ใช้สิทธิ์ลดหย่อนภริยาได้หรือไม่

ตัวอย่าง : ภริยามีเงินฝากประจำ 100 ล้านบาท มีรายได้ดอกเบี้ยที่ได้รับจากธนาคารปีละ2 ล้านบาท ซึ่งธนาคารได้หักภาษี ณ ที่จ่ายเอาไว้ 15% ทุกปีภริยาเลือกที่ให้ภาษีหัก ณ ที่จ่ายเป็นภาษีสุดท้ายแล้วจบไปเลย (ไม่นำรายได้มารวมยื่นภาษีประจำปี) นายนัทซึ่งเป็นสามี สามารถใช้สิทธิ์ลดหย่อนภริยา 60,000 บาทได้หรือไม่? คำตอบ : กรณีภริยามีเงินได้จากดอกเบี้ยเงินฝากโดยได้เสียภาษีไว้แล้ว 15% และภริยาเลือกว่าที่จะปล่อยให้ภาษีถูกหัก ณ ที่จ่ายเป็นภาษีสุดท้ายจบไปเลย (ไม่นำรายได้ดอกเบี้ยมายื่นแบบภาษีตอนสิ้นปี) สามีก็จะสามารถนำภริยามาหักลดหย่อนในฐานะคู่สมรสของผู้มีเงินได้จำนวน 60,000 บาท

by KKN การบัญชี

ลดหย่อนทางภาษี

คนต่างชาติ สามารถใช้สิทธิลดหย่อนภรรยาได้หรือไม่

นายจอน เป็นคนต่างประเทศได้เข้ามาทำงานในประเทศไทย โดยมีใบอนุญาตทำงานถูกต้องตามกฎหมาย ตอนนี้นายจอนกำลังจะยื่นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาประจำปี เลยสงสัยว่านายจอนสามารถใช้สิทธิลดหย่อนภรรยา ได้หรือไม่ นายจอนมีภรรยาเป็นชาวต่างประเทศและอาศัยอยู่ที่ต่างประเทศ คำตอบ : กรณีชาวต่างชาติเข้ามาทำงานในไทยเกิน 180 วัน ถือว่าผู้มีเงินได้เป็นผู้อยู่ในไทย สามารถหักลดหย่อนภริยาได้ ไม่ว่าภริยาจะอยู่ในไทยหรืออยู่ต่างประเทศ และยังสามารถใช้สิทธิค่าลดหย่อนบุตรได้อีกคนละ 30,000 บาท ไม่ว่าบุตรจะอยู่ไทยหรือต่างประเทศ แต่จะใช้สิทธิบิดาและมารดาได้หรือไม่จะต้องดูว่าบิดาและมารดามีเลขที่บัตรประจำตัวประชาชนตามกฎหมายทะเบียนราษฎรหรือไม่

by KKN การบัญชี

50 ทวิ
Bitcoin
DBD Registered
e-filing
LTF
SME
SMEs
TFRS16
Uncategorized
Voucher
กท.20 ก
กรมสรรพากร
กองทุนรวม
ก่อสร้างอาคารบนที่ดินของกรรมการ
การขอรับบริจาค
การจัดสรรกำไรสะสม
การตัดหนี้สูญ
การบริจาค
การบันทึกบัญชีเงินสดรับ-จ่าย
การประมาณการกำไรสุทธิขาดไป
การลงทุน
การลงประกาศหนังสือพิมพ์
การลดหย่อนบริจาคทั่วไป
การเช่า
กิจการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
กิจการร่วมค้า และกิจการค้าร่วม
กิจการเพื่อสังคม
กิจการโรงแรม
ขนส่ง
ขอคืนเงินประกันไฟฟ้า
ขายกิจการ
ขายสินค้าต่ำกว่าทุน
ขายสินค้าส่งออกไปต่างประเทศ
ขายหนังสือแถมคอร์สเรียนออนไลน์
คริปโทเคอร์เรนซี
ความเสี่ยง-ภาษีเงินได้นิติบุคคล
ความเสี่ยงของกิจการ
ค่าขนส่ง
ค้าขายออนไลน์
ค่าตรวจสุขภาพ
ค่าปรับ
ค่ารักษาพยาบาล
ค่ารับรอง
ค่าสินไหมทดแทน
ค่าเช่า
ค่าเช่ารับล่วงหน้า
ค่าเบี้ยประกันชีวิต
ค่าเสื่อมราคา
ค่าใช้จ่าย
ค่าใช้จ่ายของกิจการ
ค่าใช้จ่ายทางภาษี
ค่าใช้จ่ายในการอบรม
งบการเงิน
งบการเงินส่วนบุคคล
จดทะเบียน
จดทะเบียนเพิ่มสาขา
จดภาษีมูลค่าเพิ่ม
จัดตั้งบริษัท
จ้างงานผู้สูงอายุ
จ้างที่ปรึกษาต่างประเทศ
จ้างเด็กจบใหม่
ช้อปดีมีคืน
ดอกเบี้ยค้างรับ
ตราประทับ
ทรัพย์สิน
ทั่วไป
ทำประกันให้พนักงาน
ธุรกรรม
ธุรกิจขนส่ง
บริจาค
บริษัท กับ กรรมการ
บัญชีและภาษี
บิลเงินสด
ประกัน keyman
ประกันCovid-19
ประกันสังคม
ประชุมบริษัท
ประเภทเช็ค
ผลขาดทุน
ผู้ถือหุ้น
ผู้ประกอบการ
พร้อมเพย์
พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ฟรีแลนซ์
ภ.ง.ด. 1ก
ภ.ง.ด.1 ก
ภ.ง.ด.54
ภ.พ.36
ภาษี
ภาษี e-Service
ภาษีDropship
ภาษีกองทุนตราสารหนี้
ภาษีกับการออกจากงาน
ภาษีการรับมรดก
ภาษีของแพทย์
ภาษีขาย
ภาษีซื้อ
ภาษีซื้อต้องห้าม
ภาษีดอกเบีี้ย
ภาษีที่ดิน
ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง
ภาษีธุรกิจเฉพาะ
ภาษีนำเข้าสินค้า
ภาษีป้าย
ภาษีฟรีแลนซ์
ภาษีมูลค่าเพิ่ม
ภาษีรถยนต์
ภาษีหัก ณ ที่จ่าย
ภาษีอากร
ภาษีอากรนำเข้า
ภาษีอีเพย์เมนต์
ภาษีเงินปันผล
ภาษีเงินได้จากการรับให้
ภาษีเงินได้นิติบุคคล
ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย
ภาษีโรงแรม
มาตรการผู้กู้ยืม กยศ.
มูลค่าต้นทุน
ย้ายกิจการ
ยื่นแบบ
ยื่นแบบอย่างไรให้ประหยัดค่าปรับที่สุด
รถยนต์นั่ง
รถแลกเงิน
ระบบรับชำระเงินอิเล็กทรอนิกส์
ร้านกาแฟ-เสียภาษี
รายจ่ายค่าซ่อมแซม
รายจ่ายจริง
รายจ่ายต้องห้าม
รายได้อื่น
ลดหย่อนทางภาษี
ลดหย่อนภาษี
ลาออกจากงาน
วงจรเงินสด
วางระบบบัญชี
วางแผนภาษี
ศุลกากร
ส่งสินค้าทางไปรษณีย์
ส่งเสริมการขาย
สต็อกสินค้า
สรุปประเด็นภาษี
ส่วนลดกาาค้าและส่วนลดเงินสด
สวัสดิการพนักงาน
สวัสดิการอาหารพนักงาน
สัญญาขายฝาก
สัญญาซื้อ
สัญญาฝากทรัพย์
สัญญายินยอม
สัญญาเช่า
สัญญาเช่าที่ดิน
สำนักงานบัญชี
สิทธิประโยชน์ทางภาษี
หนี้สิน
อั่งเปา
อากรแสตมป์
เกษตรกับวิธีเสียภาษี
เครื่องบันทึกการเก็บเงิน
เคลมภาษีซื้อ ค่าอบรม
เงินกู้ยืมกรรมการ
เงินค่าฝึกอบรม
เงินชดใช้ค่าเสียหาย
เงินทดรองจ่าย
เงินบำนาญชราภาพ
เงินบำเหน็จ
เงินปันผล
เงินมัดจำ
เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด
เงินสมทบประกันสังคม
เงินสำรองจ่าย
เงินเรียกเก็บล่วงหน้าจากการขายสินค้า
เงินได้พนักงาน
เงินได้พึงประเมิน
เช่าซื้อ-ลิสซิ่ง
เบี้ยประกัน
เบี้ยปรับ
เปิดบริษัท
เราเที่ยวด้วยกัน
เลขประจำตัวผู้เสียอากร
เลิกทำธุรกิจ
เสน่หากับภาษ๊
เอกสารการเบิกจ่ายเงิน
เอกสารทางภาษี
เอกสารบัญชี
แจกไฟล์
แรงงานต่างด้าว
โครงการคนละครึ่ง
โทษปรับ
ใบกำกับภาษี
ใบกำกับภาษีอย่างย่อ
ใบลดหนี้
ใบลดหนี้และใบเพิ่มหนี้
ใบสำคัญจ่าย
ใบหุ้น
ใบเสนอราคา
ใบเสร็จรับเงิน