จดภาษีมูลค่าเพิ่ม

บทความล่าสุด

จดภาษีมูลค่าเพิ่ม

รายได้ไม่ถึง 1.8 ล้านบาท ควรจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มหรือไม่

แอดมินได้รับคำถามใน Inbox สอบถามมาว่าตอนนี้เพิ่งเปิดบริษัทรายได้ยังไม่ถึง 1.8 ล้านบาท จึงยังไม่ได้จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม ตอนนี้มีลูกค้ารายหนึ่งต้องการซื้อสินค้าจากบริษัทแต่ลูกค้าอยากได้ใบกำกับภาษี บริษัทควรจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มหรือไม่ กรณีรายได้ไม่ถึง 1.8 ล้านบาทต่อปี ควรจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มหรือไม่ ให้เราพิจารณาว่าบริษัทมีความสามารถในการผลักภาระ VAT ไปให้ลูกค้าได้มากน้อยขนาดไหน คำว่าผลักภาระ VAT ให้ลูกค้า หมายความว่าเดิมสินค้าราคา 100 บาท หลังจากจด VAT จึงเรียกเก็บ VAT เพิ่ม 7% เป็น 107 บาท และลูกค้าก็ยอมที่จะขายที่จะจ่ายเงิน 107 บาทในการซื้อสินค้าจากบริษัท ส่วนใหญ่แล้วถ้าลูกค้าที่อยู่ในระบบภาษีมูลค่าเพิ่มอยู่แล้ว เราเก็บเงินค่าสินค้า 107 (100 + 7) ลูกค้าก็จะไม่ได้รู้สึกว่าสินค้าเราแพงขึ้น เพราะเค้าสามารถขอคืน 7 บาท ที่เป็นภาษีซื้อจากกรมสรรพากรได้ ดังนั้นถ้าเราสามารถผลักภาระ VAT ให้ลูกค้าได้ เราก็ควรจด VAT เพราะไม่ได้กระทบกับการขายสินค้า และในทางกลับกันเราสามารถขอคืนภาษีซื้อจากกรมสรรพากรได้อีกทำให้ต้นทุนเราลดลง แต่ถ้าเราไม่สามารถผลักภาระ VAT ให้กับลูกค้าได้ เราจะต้องยอมลดราคาสินค้าลง […]

by KKN การบัญชี

จดภาษีมูลค่าเพิ่ม

จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มแล้วมีภาระต้องทำอะไรบ้าง

หลังจากที่เรามีรายได้เกิน 1.8 ล้านบาทต่อปี กฏหมายจะบังคับให้ผู้ประกอบการจะต้องจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม วันนี้ผมจะมาสรุปภาระหน้าที่ที่จะต้องทำหลังจากจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มว่ามีอะไรกันบ้าง . ออกใบกำกับภาษีทุกครั้ง (แม้ลูกค้าจะไม่ต้องการก็ตาม) จัดทำรายงานภาษีซื้อ และภาษีขาย จัดทำรายงานสินค้าและวัตถุดิบ ยื่นแบบนำส่งภาษีมูลค่าเพิ่ม

by KKN การบัญชี

จดภาษีมูลค่าเพิ่ม

จดภาษีมูลค่าเพิ่มมีภาระต้องทำอะไรบ้าง

สำหรับกิจการที่จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม 1.ออกใบกำกับภาษีขายทุกครั้ง เมื่อขายสินค้าและให้บริการ ภาษีขาย  ที่เรียกเก็บจากลูกค้าไม่ใช่รายได้ของเรานะ จะต้องนำส่งคืนให้กับกรมสรรพากร 2.จัดทำรายงานภาษีซื้อ และ ภาษีขายรายงานภาษีซื้อ : เมื่อผู้ประกอบการได้รับใบกำกับภาษีซื้อ ต้องจัดทำรายงานภาษีซื้อทุกครั้ง โดยดูได้จากใบกำกับภาษี หากมีภาษีซื้อเดือนใดไม่สามารถลงรายการได้ในเดือนนั้น เพราะมีเหตุจำเป็นให้นำมาลงรายการในเดือนถัดไป (แต่ไม่เกิน 6 เดือน นับตั้งแต่เดือนที่ออกใบกำกับภาษีนั้น)รายงานภาษีขาย : เมื่อเริ่มมีการขายสินค้าหรือบริการ ต้องจัดทำรายงานภาษีขายทุกครั้ง และต้องยื่นภาษีขายให้ตรงกับเดือนที่ออกใบกำกับกับด้วย 3.จัดทำรายงานสินค้าและวัตถุดิบรายการสินค้าและวัตถุดิบที่ระบุในรายงานจะต้องสอดคล้องกับจำนวนรายการสินค้า ซื้อ-ขาย ที่ระบุไว้ในใบกำกับภาษี เพราะถ้ารายการไม่ตรงกันอาจจะถูกสรรพากรประเมินว่ายื่นแบบไม่ถูกต้องได้นะครับ 4.ยื่นแบบนำส่งภาษีมูลค่าเพิ่ม สำหรับกิจการที่ไม่จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม1.ไม่มีสิทธิเรียกเก็บVAT เวลาขายสินค้าและให้บริการไม่สามารถออกใบกำกับภาษีได้ ถ้าหากออกโดยไม่มีสิทธิออก จะต้องระวางโทษจำคุกตั้งแต่ 3 เดือนถึง 7 ปี และปรับตั้งแต่ 2,000 บาทถึง 200,000 บาท 2.เมื่อซื้อสินค้าหรือบริการและได้รับใบกำกับภาษีจากร้านค้าตัวอย่าง  ซื้อสินค้า 100 บาท ภาษีซื้อ 7 บาท สามารถบันทึกบัญชีเป็นค่าใช้จ่ายได้เลย 107 บาท ที่มาhttp://www.isstep.com/vat/https://www.dharmniti.co.th

by KKN การบัญชี

50 ทวิ
Bitcoin
DBD Registered
e-filing
LTF
SME
SMEs
TFRS16
Uncategorized
Voucher
กท.20 ก
กรมสรรพากร
กองทุนรวม
ก่อสร้างอาคารบนที่ดินของกรรมการ
การขอรับบริจาค
การจัดสรรกำไรสะสม
การตัดหนี้สูญ
การบริจาค
การบันทึกบัญชีเงินสดรับ-จ่าย
การประมาณการกำไรสุทธิขาดไป
การลงทุน
การลงประกาศหนังสือพิมพ์
การลดหย่อนบริจาคทั่วไป
การเช่า
กิจการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
กิจการร่วมค้า และกิจการค้าร่วม
กิจการเพื่อสังคม
กิจการโรงแรม
ขนส่ง
ขอคืนเงินประกันไฟฟ้า
ขายกิจการ
ขายสินค้าต่ำกว่าทุน
ขายสินค้าส่งออกไปต่างประเทศ
ขายหนังสือแถมคอร์สเรียนออนไลน์
คริปโทเคอร์เรนซี
ความเสี่ยง-ภาษีเงินได้นิติบุคคล
ความเสี่ยงของกิจการ
ค่าขนส่ง
ค้าขายออนไลน์
ค่าตรวจสุขภาพ
ค่าปรับ
ค่ารักษาพยาบาล
ค่ารับรอง
ค่าสินไหมทดแทน
ค่าเช่า
ค่าเช่ารับล่วงหน้า
ค่าเบี้ยประกันชีวิต
ค่าเสื่อมราคา
ค่าใช้จ่าย
ค่าใช้จ่ายของกิจการ
ค่าใช้จ่ายทางภาษี
ค่าใช้จ่ายในการอบรม
งบการเงิน
งบการเงินส่วนบุคคล
จดทะเบียน
จดทะเบียนเพิ่มสาขา
จดภาษีมูลค่าเพิ่ม
จัดตั้งบริษัท
จ้างงานผู้สูงอายุ
จ้างที่ปรึกษาต่างประเทศ
จ้างเด็กจบใหม่
ช้อปดีมีคืน
ดอกเบี้ยค้างรับ
ตราประทับ
ทรัพย์สิน
ทั่วไป
ทำประกันให้พนักงาน
ธุรกรรม
ธุรกิจขนส่ง
บริจาค
บริษัท กับ กรรมการ
บัญชีและภาษี
บิลเงินสด
ประกัน keyman
ประกันCovid-19
ประกันสังคม
ประชุมบริษัท
ประเภทเช็ค
ผลขาดทุน
ผู้ถือหุ้น
ผู้ประกอบการ
พร้อมเพย์
พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ฟรีแลนซ์
ภ.ง.ด. 1ก
ภ.ง.ด.1 ก
ภ.ง.ด.54
ภ.พ.36
ภาษี
ภาษี e-Service
ภาษีDropship
ภาษีกองทุนตราสารหนี้
ภาษีกับการออกจากงาน
ภาษีการรับมรดก
ภาษีของแพทย์
ภาษีขาย
ภาษีซื้อ
ภาษีซื้อต้องห้าม
ภาษีดอกเบีี้ย
ภาษีที่ดิน
ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง
ภาษีธุรกิจเฉพาะ
ภาษีนำเข้าสินค้า
ภาษีป้าย
ภาษีฟรีแลนซ์
ภาษีมูลค่าเพิ่ม
ภาษีรถยนต์
ภาษีหัก ณ ที่จ่าย
ภาษีอากร
ภาษีอากรนำเข้า
ภาษีอีเพย์เมนต์
ภาษีเงินปันผล
ภาษีเงินได้จากการรับให้
ภาษีเงินได้นิติบุคคล
ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย
ภาษีโรงแรม
มาตรการผู้กู้ยืม กยศ.
มูลค่าต้นทุน
ย้ายกิจการ
ยื่นแบบ
ยื่นแบบอย่างไรให้ประหยัดค่าปรับที่สุด
รถยนต์นั่ง
รถแลกเงิน
ระบบรับชำระเงินอิเล็กทรอนิกส์
ร้านกาแฟ-เสียภาษี
รายจ่ายค่าซ่อมแซม
รายจ่ายจริง
รายจ่ายต้องห้าม
รายได้อื่น
ลดหย่อนทางภาษี
ลดหย่อนภาษี
ลาออกจากงาน
วงจรเงินสด
วางระบบบัญชี
วางแผนภาษี
ศุลกากร
ส่งสินค้าทางไปรษณีย์
ส่งเสริมการขาย
สต็อกสินค้า
สรุปประเด็นภาษี
ส่วนลดกาาค้าและส่วนลดเงินสด
สวัสดิการพนักงาน
สวัสดิการอาหารพนักงาน
สัญญาขายฝาก
สัญญาซื้อ
สัญญาฝากทรัพย์
สัญญายินยอม
สัญญาเช่า
สัญญาเช่าที่ดิน
สำนักงานบัญชี
สิทธิประโยชน์ทางภาษี
หนี้สิน
อั่งเปา
อากรแสตมป์
เกษตรกับวิธีเสียภาษี
เครื่องบันทึกการเก็บเงิน
เคลมภาษีซื้อ ค่าอบรม
เงินกู้ยืมกรรมการ
เงินค่าฝึกอบรม
เงินชดใช้ค่าเสียหาย
เงินทดรองจ่าย
เงินบำนาญชราภาพ
เงินบำเหน็จ
เงินปันผล
เงินมัดจำ
เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด
เงินสมทบประกันสังคม
เงินสำรองจ่าย
เงินเรียกเก็บล่วงหน้าจากการขายสินค้า
เงินได้พนักงาน
เงินได้พึงประเมิน
เช่าซื้อ-ลิสซิ่ง
เบี้ยประกัน
เบี้ยปรับ
เปิดบริษัท
เราเที่ยวด้วยกัน
เลขประจำตัวผู้เสียอากร
เลิกทำธุรกิจ
เสน่หากับภาษ๊
เอกสารการเบิกจ่ายเงิน
เอกสารทางภาษี
เอกสารบัญชี
แจกไฟล์
แรงงานต่างด้าว
โครงการคนละครึ่ง
โทษปรับ
ใบกำกับภาษี
ใบกำกับภาษีอย่างย่อ
ใบลดหนี้
ใบลดหนี้และใบเพิ่มหนี้
ใบสำคัญจ่าย
ใบหุ้น
ใบเสนอราคา
ใบเสร็จรับเงิน