ประกันสังคม

บทความล่าสุด

ประกันสังคม

ลูกจ้างเข้า-ออก ต้องแจ้งอะไรประกันสังคมบ้าง

นายจ้างที่มีลูกจ้างตั้งแต่ 1 คนขึ้นไป ต้องขึ้นทะเบียนนายจ้างพร้อมกับขึ้นทะเบียนลูกจ้างเป็นผู้ประกันตนภายใน 30 วัน เมื่อมีการรับลูกจ้างใหม่เพิ่มขึ้นต้องแจ้งขึ้นทะเบียนลูกจ้างใหม่ภายใน 30 วัน เช่นกัน ต่อมาเมื่อพนักงานได้ลาออก นายจ้างมีหน้าที่ต้องแจ้งประกันสังคมภายในวันที่ 15 ของเดือนถัดไป

by KKN การบัญชี

ประกันสังคม

สอนยื่น e-Wage ประกันสังคม

e-Wage คือระบบรายงานค่าจ้างประจำปีกองทุนเงินทดแทน ผ่านเว็บไซต์ของประกันสังคม (www.sso.go.th) ซึ่งระบบนี้จะช่วยอำนวยความสะดวกให้นายจ้างสามารถทำผ่านระบบออนไลน์ได้ แทนการกรอกเอกสารแบบ กท.20ก (ดังนั้นยื่น e-Wage แล้วจะไม่ต้องยื่น กท.20ก ซ้ำอีก) นายจ้างจะต้องรายงานค่าจ้างภายในวันที่ 25 ก.พ. 65 จากนั้นพิมพ์ใบชำระเงินกองทุนทดแทน (กท.25ค) ชำระภายในวันที่ 31 มี.ค. 65

by KKN การบัญชี

ประกันสังคม

วิธีขึ้นทะเบียนรับเงินเยียวยาให้ลูกจ้างตามมาตรา 33

👉ถ้านายจ้างไม่ขึ้นทะเบียนให้ลูกจ้าง ลูกจ้างจะไม่ได้รับสิทธิเงินเยียวยา👈 ก่อนอื่นขอขอบคุณ คุณPilaiporn Forpiami ที่ช่วยศึกษาข้อมูลและส่งรายละเอียดเกี่ยวกับขั้นตอนการขึ้นทะเบียนมาให้ครับ เมื่อวานนี้หลังจากที่ประกันสังคมเปิดระบบให้เช็คสิทธิเยียวยา มีลูกจ้างหลายคนเข้าไปเช็คสิทธิแล้วไม่พบข้อมูล เนื่องจากลูกจ้างจะได้รับสิทธิก็ต่อเมื่อนายจ้างขึ้นทะเบียนให้เท่านั้น ดังนั้นถ้าท่านใดเช็คแล้วยังไม่ได้รับสิทธิจะต้องติดต่อนายจ้างให้ดำเนินการให้ครับ สำหรับการขึ้นทะเบียนนายจ้างจะต้องมี Username & Password สำหรับทำธุรกรรมผ่านระบบออนไลน์ของประกันสังคมก่อนครับ บัญชีเงินฝากของลูกจ้างจะต้องผูกกับระบบพร้อมเพย์ อยากให้นายจ้างเข้าไปขึ้นทะเบียนให้กับลูกจ้างทุกคนครับ เพราะเงินส่วนแม้จะจำนวนน้อย แต่ก็จำเป็นกับลูกจ้างมากครับ

by KKN การบัญชี

ประกันสังคม

สิทธิประโยชน์จ้างงานคนพิการ

ลูกจ้าง 100 คนขึ้นไป ให้ปฎิบัติตามกฎหมายวิธีใดวิธีหนึ่งหรือหลายวิธีรวมกับมาตรา 33,34,35 ลูกจ้างน้อยกว่า 100 คน ไม่ต้องปฎิบัติตามกฎหมาย ให้แสดงเอกสารการส่งเงินสมทบกองทุนประกันสังคมเพื่อยืนยันจำนวนลูกจ้าง

by KKN การบัญชี

ประกันสังคม

เงินบำนาญชราภาพ(ประกันสังคม)

 ผู้ประกันตน  : ลูกจ้างที่มีอายุไม่ต่ำกว่า 15 ปีบริบูรณ์และไม่เกิน 60 ปีบริบูรณ์: ลูกจ้างอายุครบ 60 ปีบริบูรณ์แต่นายจ้างยังจ้างให้ทำงานต่อให้ถือเป็นผู้ประกันตนต่อไป เงื่อนไขผู้ประกันตนที่มีสิทธิรับเงินบำนาญ มีอายุครบ 55 ปีบริบูรณ์ จ่ายเงินสมทบครบ 180 เดือน ความเป็นผู้ประกันตนสิ้นสุดลงหรือกรณีที่ มีอายุไม่ครบ 55 ปีบริบูรณ์เมื่อมีคำวินิจฉัยให้เป็น “ผู้ทุพพลภาพ” เสียชีวิตก่อนอายุครบ55 ปี อัตราการจ่ายเงินบำนาญ กรณีที่ 1 : อายุครบ 55 ปี ส่งเงินสมทบไม่น้อยกว่า 180 เดือน ผู้ประกันตนจะได้รับบำนาญชราภาพในอัตราร้อยละ 20 ของค่าจ้างเฉลี่ย 60 เดือนสุดท้ายกรณีที่ 2 : อายุครบ 55 ปี ส่งเงินสมทบมากกว่า 180 เดือนจะได้รับการปรับเพิ่มบำนาญชราภาพเพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ 1.5 ต่อระยะเวลาการจ่ายเงินสมทบ ครบทุก 12 เดือน ก่อนความเป็นผู้ประกันตนสิ้นสุดลง อายุครบ 55 […]

by KKN การบัญชี

การลงทุน

วางแผนภาษีด้วยประกันชีวิต

ทำไมประกันชีวิตถึงเป็นตัวเลือกแรกในการวางแผนภาษี 1.ค่าประกันชีวิต (แบบทั่วไป) นำมาเป็นค่าลดหย่อนได้สูงสุด 100,000 บาท ค่าประกันชีวิต (แบบบำนาญ) นำมาเป็นค่าลดหย่อนได้ไม่เกิน 15% ของเงินได้พึงประเมินแต่ไม่เกิน 200,000 บาท2.เป็นเครื่องมือป้องกันความเสี่ยง ประกันจะช่วยคุ้มครองความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้น ประกันชีวิตมันประหยัดภาษีขนาดไหน ตัวอย่าง :ถ้าคุณซื้อประกันชีวิตเพื่อลดหย่อนภาษี 100,000 บาท ฐานภาษีของคุณอยู่ที่ 20 % เท่ากับคุณ จะได้ผลตอบแทนจากการลดหย่อนภาษีสูงสุด 20,000 บาท ประกันชีวิตแบบทั่วไป ต้องมีเงื่อนไขดังนี้ 1.กรมธรรม์ประกันชีวิตมีกำหนดเวลาตั้งแต่ 10 ปีขึ้นไป2.ต้องทำกับบริษัทรับประกันภัยที่ประกอบกิจการประกันชีวิตในประเทศไทย3.ถ้ามีการจ่ายเงินคืน เงินปันผล หรือผลตอบแทนระหว่างสัญญา จะต้องมีเงื่อนไขดังนี้ – กรณีได้รับเงินคืนทุกปี ยอดเงินคืนนั้นต้องไม่เกิน 20% ของเบี้ยประกันชีวิตรายปี – กรณีได้รับเงินคืนตามช่วงระยะเวลา อย่างเช่น 2 ปี, 3 ปี, และ 5 ปี ยอดเงินคืนต้องไม่เกิน 20% ของเบี้ยประกันชีวิตสะสมของแต่ละช่วงระยะเวลา – กรณีอื่น ๆ […]

by KKN การบัญชี

ประกันสังคม

สรุปประกันสังคม

เมื่อเปิดกิจการที่มีพนักงานจำนวนตั้งแต่ 1 คนขึ้นไปนั้น ตามกฎหมายระบุว่านายจ้างต้องเป็นผู้จัดการทำประกันสังคมให้กับลูกจ้าง เพื่อที่ลูกจ้างจะได้รับสิทธิประโยชน์  วันนี้เลยมาสรุปสิ่งที่ต้องทำ ระยะเวลาที่แจ้ง แอะเอกสารที่เกี่ยวข้องครับ

by KKN การบัญชี

ประกันสังคม

โดนปลดฟ้าผ่า!! ได้เงินชดเชยอะไรบ้าง?

สิทธิรับเงินชดเชยเมื่อถูกเลิกจ้าง กฎหมายแรงงานระบุให้ นายจ้างจ่าย “เงินชดเชย” ถ้าเลิกจ้าง และลูกจ้างไม่มีความผิด โดยจะได้รับค่าชดเชยนั้นจะขึ้นอยู่กับอายุงานของลูกจ้างดังนี้ ทำงานครบ 0 วัน 120 วัน 1 ปี 3 ปี 6 ปี 10 ปี 20 ปีขั้นไป แต่ไม่ถึง 120 วัน 1 ปี 3 ปี 6 ปี 10 ปี 20 ปี ได้รับค่าชดเชย ไม่มีสิทธิ์ได้รับ เท่ากับค่าจ้าง 30 วัน เท่ากับค่าจ้าง 90 วัน เท่ากับค่าจ้าง 180 วัน เท่ากับค่าจ้าง 240 วัน เท่ากับค่าจ้าง 300 วัน เท่ากับค่าจ้าง 400 วัน […]

by KKN การบัญชี

ประกันสังคม

บำนาญชราภาพ

 “เงินบำนาญชราภาพ” คือ เงินที่สำนักงานประกันสังคมจ่ายให้ผู้ประกันตนเป็นรายเดือนตลอดชีวิต “ผู้ประกันตน” คือ ลูกจ้างที่มีอายุไม่ต่ำกว่า 15 ปีบริบูรณ์และไม่เกิน 60 ปีบริบูรณ์ ลูกจ้างอายุครบ 60 ปีบริบูรณ์แต่นายจ้างยังจ้างให้ทำงานต่อให้ถือเป็นผู้ประกันตนต่อไป เงื่อนไขที่ผู้ประะกันจะได้รับเงินบำนาญชราภาพ คือ มีอายุครบ 55 ปีบริบูรณ์ จ่ายเงินสมทบครบ 180 เดือน ความเป็นผู้ประกันตนสิ้นสุดลง หรือไม่กรณีที่ มีอายุไม่ครบ 55 ปีบริบูรณ์ เมื่อมีคำวินิจฉัยให้เป็น “ผู้ทุพพลภาพ” เสียชีวิตก่อนอายุครบ 55 ปี อัตราการรับเงินบำนาญ นั้นจะขึ้นอยู่ว่าผู้ประกันตนนั้นเข้าเงื่อนไขใดครับ อายุครบ 55 ปี ส่งเงินสมทบ เท่ากับ 180 เดือน โดยจะได้รับอัตราร้อยละ 20 ของค่าจ้างเฉลี่ย 60 เดือนสุดท้าย แต่ถ้าหากส่งเงินสมทบ มากกว่า 180 เดือน จะได้รับการบวกเพิ่มให้อีกปีละ 1.5% 2. เสียชีวิตภายใน 60 เดือน(5ปี) […]

by KKN การบัญชี

ประกันสังคม

กรรมการมีสิทธิเข้าระบบประกันสังคมหรือไม่?

โดยปกติแล้วเมื่อยื่นเอกสารให้กับสำนักงานประกันสังคม สำนักงานประกันสังคมจะพิจารณาว่ากรรมการ หรือผู้ถือหุ้น เป็น “ลูกจ้าง” หรือเป็น “นายจ้าง” เรามาดูความหมายของ “ลูกจ้าง” หรือ “นายจ้าง” กันครับ “ลูกจ้าง” คือ เป็นคนที่ตกลงทำงานให้นายจ้างเพื่อรับค่าจ้าง ทำตามคำสั่งนายจ้าง ต้องปฏิบัติตามระเบียบ หรือ ข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงานของนายจ้าง ลูกจ้างฝ่าฝืนนายจ้างสามารถลงโทษได้ “นายจ้าง” โดยกรรมการที่จะไม่อยู่ในข่ายการเป็นลูกจ้าง คือ เป็นผู้เริ่มก่อการและก่อตั้งบริษัทมาตั้งแต่แรก หรือเป็นผู้ถือหุ้น ไม่ต้องทำตามคำสั่งใคร ไม่ต้องปฏิบัติตามระเบียบ หรือข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงาน มาตอนไหน ลาวันไหนก็ได้ มีอิสระ ทำงานให้กับบริษัท ดูแลรักษาผลประโยชน์ของบริษัท เป็นการทำด้วยจุดประสงค์เพื่อจะแบ่งปันกำไรที่ต้องได้เท่านั้น ซึ่งตามมาตรา 33 กล่าวว่า ในแต่ละเดือนนายจ้างต้องออกเงินประกันสังคมให้ 1 เท่า ของเงินที่ลูกจ้างถูกหักออก หรือก็คือ ลูกจ้างจะถูกหักจากเงินเดือน 5% + นายจ้างจ่ายสมทบ 5% + รัฐบาลร่วมจ่ายสมทบ 2.75% นั่นเองครับ ซึ่งหาก กรรมการบริษัท + ถือหุ้นบริษัทอย่างมีสาระสำคัญก็จะ […]

by KKN การบัญชี

50 ทวิ
Bitcoin
DBD Registered
e-filing
LTF
SME
SMEs
TFRS16
Uncategorized
Voucher
กท.20 ก
กรมสรรพากร
กองทุนรวม
ก่อสร้างอาคารบนที่ดินของกรรมการ
การขอรับบริจาค
การจัดสรรกำไรสะสม
การตัดหนี้สูญ
การบริจาค
การบันทึกบัญชีเงินสดรับ-จ่าย
การประมาณการกำไรสุทธิขาดไป
การลงทุน
การลงประกาศหนังสือพิมพ์
การลดหย่อนบริจาคทั่วไป
การเช่า
กิจการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
กิจการร่วมค้า และกิจการค้าร่วม
กิจการเพื่อสังคม
กิจการโรงแรม
ขนส่ง
ขอคืนเงินประกันไฟฟ้า
ขายกิจการ
ขายสินค้าต่ำกว่าทุน
ขายสินค้าส่งออกไปต่างประเทศ
ขายหนังสือแถมคอร์สเรียนออนไลน์
คริปโทเคอร์เรนซี
ความเสี่ยง-ภาษีเงินได้นิติบุคคล
ความเสี่ยงของกิจการ
ค่าขนส่ง
ค้าขายออนไลน์
ค่าตรวจสุขภาพ
ค่าปรับ
ค่ารักษาพยาบาล
ค่ารับรอง
ค่าสินไหมทดแทน
ค่าเช่า
ค่าเช่ารับล่วงหน้า
ค่าเบี้ยประกันชีวิต
ค่าเสื่อมราคา
ค่าใช้จ่าย
ค่าใช้จ่ายของกิจการ
ค่าใช้จ่ายทางภาษี
ค่าใช้จ่ายในการอบรม
งบการเงิน
งบการเงินส่วนบุคคล
จดทะเบียน
จดทะเบียนเพิ่มสาขา
จดภาษีมูลค่าเพิ่ม
จัดตั้งบริษัท
จ้างงานผู้สูงอายุ
จ้างที่ปรึกษาต่างประเทศ
จ้างเด็กจบใหม่
ช้อปดีมีคืน
ดอกเบี้ยค้างรับ
ตราประทับ
ทรัพย์สิน
ทั่วไป
ทำประกันให้พนักงาน
ธุรกรรม
ธุรกิจขนส่ง
บริจาค
บริษัท กับ กรรมการ
บัญชีและภาษี
บิลเงินสด
ประกัน keyman
ประกันCovid-19
ประกันสังคม
ประชุมบริษัท
ประเภทเช็ค
ผลขาดทุน
ผู้ถือหุ้น
ผู้ประกอบการ
พร้อมเพย์
พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ฟรีแลนซ์
ภ.ง.ด. 1ก
ภ.ง.ด.1 ก
ภ.ง.ด.54
ภ.พ.36
ภาษี
ภาษี e-Service
ภาษีDropship
ภาษีกองทุนตราสารหนี้
ภาษีกับการออกจากงาน
ภาษีการรับมรดก
ภาษีของแพทย์
ภาษีขาย
ภาษีซื้อ
ภาษีซื้อต้องห้าม
ภาษีดอกเบีี้ย
ภาษีที่ดิน
ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง
ภาษีธุรกิจเฉพาะ
ภาษีนำเข้าสินค้า
ภาษีป้าย
ภาษีฟรีแลนซ์
ภาษีมูลค่าเพิ่ม
ภาษีรถยนต์
ภาษีหัก ณ ที่จ่าย
ภาษีอากร
ภาษีอากรนำเข้า
ภาษีอีเพย์เมนต์
ภาษีเงินปันผล
ภาษีเงินได้จากการรับให้
ภาษีเงินได้นิติบุคคล
ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย
ภาษีโรงแรม
มาตรการผู้กู้ยืม กยศ.
มูลค่าต้นทุน
ย้ายกิจการ
ยื่นแบบ
ยื่นแบบอย่างไรให้ประหยัดค่าปรับที่สุด
รถยนต์นั่ง
รถแลกเงิน
ระบบรับชำระเงินอิเล็กทรอนิกส์
ร้านกาแฟ-เสียภาษี
รายจ่ายค่าซ่อมแซม
รายจ่ายจริง
รายจ่ายต้องห้าม
รายได้อื่น
ลดหย่อนทางภาษี
ลดหย่อนภาษี
ลาออกจากงาน
วงจรเงินสด
วางระบบบัญชี
วางแผนภาษี
ศุลกากร
ส่งสินค้าทางไปรษณีย์
ส่งเสริมการขาย
สต็อกสินค้า
สรุปประเด็นภาษี
ส่วนลดกาาค้าและส่วนลดเงินสด
สวัสดิการพนักงาน
สวัสดิการอาหารพนักงาน
สัญญาขายฝาก
สัญญาซื้อ
สัญญาฝากทรัพย์
สัญญายินยอม
สัญญาเช่า
สัญญาเช่าที่ดิน
สำนักงานบัญชี
สิทธิประโยชน์ทางภาษี
หนี้สิน
อั่งเปา
อากรแสตมป์
เกษตรกับวิธีเสียภาษี
เครื่องบันทึกการเก็บเงิน
เคลมภาษีซื้อ ค่าอบรม
เงินกู้ยืมกรรมการ
เงินค่าฝึกอบรม
เงินชดใช้ค่าเสียหาย
เงินทดรองจ่าย
เงินบำนาญชราภาพ
เงินบำเหน็จ
เงินปันผล
เงินมัดจำ
เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด
เงินสมทบประกันสังคม
เงินสำรองจ่าย
เงินเรียกเก็บล่วงหน้าจากการขายสินค้า
เงินได้พนักงาน
เงินได้พึงประเมิน
เช่าซื้อ-ลิสซิ่ง
เบี้ยประกัน
เบี้ยปรับ
เปิดบริษัท
เราเที่ยวด้วยกัน
เลขประจำตัวผู้เสียอากร
เลิกทำธุรกิจ
เสน่หากับภาษ๊
เอกสารการเบิกจ่ายเงิน
เอกสารทางภาษี
เอกสารบัญชี
แจกไฟล์
แรงงานต่างด้าว
โครงการคนละครึ่ง
โทษปรับ
ใบกำกับภาษี
ใบกำกับภาษีอย่างย่อ
ใบลดหนี้
ใบลดหนี้และใบเพิ่มหนี้
ใบสำคัญจ่าย
ใบหุ้น
ใบเสนอราคา
ใบเสร็จรับเงิน