ภาษีมูลค่าเพิ่ม

บทความล่าสุด

Voucher

Voucher กับการเสียภาษี

หลายกิจการมีการส่งเสริมการขายโดยการให้ Voucher แก่ลูกค้าเพื่อนำมาใช้เป็นส่วนลดในการซื้อสินค้าหรือบริการ ในโพสนี้จะมาพูดเกี่ยวกับประเด็นภาษีที่เกี่ยวกับ Voucher ซึ่งจะแบ่งออกเป็น 2 กรณีดังนี้ 1.แจก Voucher เพื่อให้ลูกค้านำกลับมาเป็นคูปองส่วนลดในการซื้อครั้งต่อไป 2.บริษัทขาย Voucher ให้กับลูกค้า เพื่อนำมาซื้อของ

by KKN การบัญชี

ภาษีมูลค่าเพิ่ม

Tax point ของภาษีมูลค่าเพิ่ม

จุดความรับผิดชอบในการเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม (Tax Point) หมายถึง จุดที่เกิดภาระทางภาษี ซึ่งก่อให้เกิดสิทธิเและหน้าที่ สิทธิ ในการเรียกเก็บ VAT จากผู้ซื้อหรือผู้รับบริการ หน้าที่ ในการจัดทำใบกำกับภาษีขายเพื่อส่งมอบให้แก่ลูกค้า พร้อมทั้งจัดทำรายงานภาษีขายและนำส่งภาษีมูลค่าเพิ่มให้แก่กรมสรรพากร 🙂 เรามาดูกันครับว่า Tax point ของภาษีมูลค่าเพิ่มมีอะไรกันบ้าง

by KKN การบัญชี

ภาษีมูลค่าเพิ่ม

บุคคลทำธุรกิจขายสินค้า ไม่ได้เก็บเอกสาร ต้องเสียภาษี?

มีผู้ประกอบการหลายท่านเข้าเงื่อนไขธุรกรรมลักษณะเฉพาะกันหลายท่าน บางท่านก็กลัวภาษีย้อนหลังอยากจะกลับตัวกลับใจมายื่นภาษีให้ถูกต้อง แต่อยากรู้ยอดภาษีคร่าวๆ ว่าจะต้องเสียภาษีประมาณกี่บาท แอดมินทำโพสนี้ขึ้นมาเพื่อเป็นแนวทางในการคำนวณภาษีเบื้องต้น เพื่อให้ผู้ประกอบการได้เตรียมใจ และเตรียมเงินในกระเป๋าเอาไว้แต่เนิ่นๆ

by KKN การบัญชี

ภาษีมูลค่าเพิ่ม

การขายสินค้าหรือการให้บริการที่ไม่ต้องนำมารวมคำนวณเป็นมูลค่าของฐานภาษี

โดยทั่วไปแล้วหลังจากที่จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มเสร็จเรียบร้อยแล้ว ผู้ประกอบการส่วนใหญ่มักจำท่องเอาไว้ในใจเสมอว่า “ทุกครั้งที่ขายสินค้าหรือให้บริการ เราจะเรียกเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มจากลูกค้า และต้องออกใบกำกับภาษีให้ลูกค้าเสมอ แม้ว่าลูกค้าจะไม่ต้องการก็ตาม” ในทางภาษีคำว่า ” ขาย ” หมายความว่า จำหน่าย จ่าย โอนสินค้า ไม่ว่าจะมีประโยชน์หรือค่าตอบแทนหรือไม่ จะเห็นว่าจากความหมายของขายมันดูโหดร้ายกับผู้ประกอบการมาก ยกตัวอย่างเช่น บริษัท A ในช่วงวิกฤตโควิด ได้บริจาคผ้าปากปิดโดยไม่ได้รับเงินตอบแทน ถ้ายึดนิยามคำว่าขาย จะถือว่าบริษัทได้จ่ายโอนสินค้าให้กับบุคคลอื่นโดยไม่ได้รับค่าตอบแทน ให้ถือเป็น “ขาย” ซึ่งจะต้องมีหน้าที่เสียภาษีมูลค่าเพิ่มให้กับกรมสรรพากร ซึ่งคงจะไม่มีคนอยากเป็นคนดีแน่ๆ ถ้าจะต้องเสียภาษีเพิ่มอีก กรมสรรพากรจึงได้กำหนดลักษณะ และเงื่อนไข ค่าตอบแทนที่ไม่ต้องนำมารวมคำนวณมูลค่าของฐานภาษี โดยออกประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เกี่ยวกับภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 40) เพื่อให้ความชัดเจนในเรื่องนี้ ซึ่งแอดมินได้รวบรวมข้อที่เกี่ยวข้องกับบริษัททั่วไปหรือที่เจอบ่อยเอาไว้ 14 ข้อ สำหรับท่านที่อยากอ่านฉบับเต็มเข้าไปดูได้ที่นี่ >> https://www.rd.go.th/3399.html

by KKN การบัญชี

ภาษีซื้อ

ของขวัญกับการเสียภาษี 🎁

ช่วงใกล้สิ้นปี บริษัทต่างๆ ก็มักจะมีการแจกของขวัญให้กับลูกค้าของบริษัท วันนี้แอดมินจึงมาสรุปภาษีที่เกี่ยวข้องกับการแจกของขวัญให้กับลูกค้า

by KKN การบัญชี

ภาษีมูลค่าเพิ่ม

อยากออกจาก VAT ต้องทำอย่างไร

มีผู้ประกอบการท่านหนึ่งสอบถามเข้ามาว่า ตอนจดทะเบียนจัดตั้งบริษัทเข้าใจผิดคิดว่าจดบริษัทจะต้องจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มด้วย แต่ตั้งแต่เปิดบริษัทมา 2 ปียังไม่เคยมีรายได้เกิน 1.8 ล้านบาทต่อปีเลย ตอนนี้รู้สึกว่าเป็นภาระมาก เพราะบางครั้งก็ไม่สามารถเก็บ VAT จากลูกค้าได้จะต้องควักเงินจ่ายเองและทุกเดือนจะต้องยืนแบบนำส่งภาษีมูลค่าเพิ่ม ตอนนี้อยากออกจาก VAT มากทำอย่างไรได้บ้าง VAT เป็นเรื่องที่คนใจอยากออก แต่ไม่มีคนนอกที่ไหนอยากจะเข้าเลย ดังนั้นก่อนจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มจะต้องคิดให้ดีก่อนเพราะจดแล้วออกลำบากมาก คุณจะต้องมียอดขายต่ำกว่า 1.8 ล้านบาทต่อปีติดต่อกันมากกว่า 3 ปีถึงจะสามารถยื่นเรื่องขอออกจากระบบภาษีมูลค่าเพิ่มได้ หรืออีกวิธีที่ไม่ต้องรอ 3 ปีคือการเลิกกิจการแล้วจดทะเบียนใหม่ครับ

by KKN การบัญชี

ภาษีมูลค่าเพิ่ม

มีหลายสาขา อยากยื่นภาษีมูลค่าเพิ่มรวมกันต้องทำอย่างไร

ต้องเข้าเงื่อนไดดังต่อไปนี้ ถึงจะสามารถยื่นรวมได้(ภ.พ.02) ผู้ประกอบการจดทะเบียนที่มีสถานประกอบการหลายแห่ง ยื่นคำขอยื่นแบบแสดงรายการภาษีมูลค่าเพิ่มรวมกัน (ภ.พ.02) ต่ออธิบดีกรมสรรพากร เมื่อได้รับอนุมัติจากอธิบดีกรมสรรพากรแล้ว จึงจะยื่นแบบรวมกันได้ตั้งแต่เดือนภาษีที่อธิบดีกำหนดเป็นต้นไป ให้ผู้ประกอบการแสดงรายการภาษีของสถานประกอบการทุกแห่งรวมกันไว้ใน ภ.พ.30 ที่ยื่นพร้อมทั้งแนบรายละเอียดภาษีขายและภาษีซื้อของสถานประกอบการแต่ละแห่งตามแบบที่กรมสรรพากรกำหนดประกอบการยื่นแบบฯ ตัวอย่างแบบคำขอยื่นแบบแสดงรายการภาษีมูลค่าเพิ่มรวมกัน(ภ.พ.02)

by KKN การบัญชี

ค่าใช้จ่ายทางภาษี

แจกของขวัญปีใหม่ให้กับลูกค้า

1.ภาษีเงินได้นิติบุคคล  ค่าใช้จ่ายนำมาเป็นค่าใช้จ่ายได้ไม่เกินคนละ 2,000 บาทในแต่ละคราว 2.ภาษีมูลค่าเพิ่ม  ภาษีซื้อที่เกิดจากการซื้อของขวัญแจกเป็นภาษีซื้อต้องห้าม *ถ้าให้ดีอย่าลืมแนบนามบัตรของกิจการ และถ่ายรูปเป็นหลักฐานด้วยนะครับ สาเหตุที่ในบัญชีธนาคารของบริษัทไม่ตรงกับการบันทึกบัญชี 1.เจ้าของบริษัทไม่มีเงินจริงตามที่จดทะเบียนบริษัท (ไม่ตรงตั้งแต่เริ่มกิจการเลย T ^ T)2.ใช้เงินบริษัทกับส่วนตัวปนกันมั่วไปหมด เจ้าของควรจะกำหนดเงินเดือนตัวเองขึ้นและไม่ใช้เงินบริษัทในเรื่องส่วนตัว3.ลูกค้าโอนเงินค่าสินค้าหรือบริการ เข้าบัญชีส่วนตัวของเจ้าของแทนเข้าบัญชีบริษัท4.ใช้เงินส่วนตัวจ่ายค่าใช้จ่ายแทนบริษัท เพื่อความสะดวกและง่าย

by KKN การบัญชี

50 ทวิ
Bitcoin
DBD Registered
e-filing
LTF
SME
SMEs
TFRS16
Uncategorized
Voucher
กท.20 ก
กรมสรรพากร
กองทุนรวม
ก่อสร้างอาคารบนที่ดินของกรรมการ
การขอรับบริจาค
การจัดสรรกำไรสะสม
การตัดหนี้สูญ
การบริจาค
การบันทึกบัญชีเงินสดรับ-จ่าย
การประมาณการกำไรสุทธิขาดไป
การลงทุน
การลงประกาศหนังสือพิมพ์
การลดหย่อนบริจาคทั่วไป
การเช่า
กิจการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
กิจการร่วมค้า และกิจการค้าร่วม
กิจการเพื่อสังคม
กิจการโรงแรม
ขนส่ง
ขอคืนเงินประกันไฟฟ้า
ขายกิจการ
ขายสินค้าต่ำกว่าทุน
ขายสินค้าส่งออกไปต่างประเทศ
ขายหนังสือแถมคอร์สเรียนออนไลน์
คริปโทเคอร์เรนซี
ความเสี่ยง-ภาษีเงินได้นิติบุคคล
ความเสี่ยงของกิจการ
ค่าขนส่ง
ค้าขายออนไลน์
ค่าตรวจสุขภาพ
ค่าปรับ
ค่ารักษาพยาบาล
ค่ารับรอง
ค่าสินไหมทดแทน
ค่าเช่า
ค่าเช่ารับล่วงหน้า
ค่าเบี้ยประกันชีวิต
ค่าเสื่อมราคา
ค่าใช้จ่าย
ค่าใช้จ่ายของกิจการ
ค่าใช้จ่ายทางภาษี
ค่าใช้จ่ายในการอบรม
งบการเงิน
งบการเงินส่วนบุคคล
จดทะเบียน
จดทะเบียนเพิ่มสาขา
จดภาษีมูลค่าเพิ่ม
จัดตั้งบริษัท
จ้างงานผู้สูงอายุ
จ้างที่ปรึกษาต่างประเทศ
จ้างเด็กจบใหม่
ช้อปดีมีคืน
ดอกเบี้ยค้างรับ
ตราประทับ
ทรัพย์สิน
ทั่วไป
ทำประกันให้พนักงาน
ธุรกรรม
ธุรกิจขนส่ง
บริจาค
บริษัท กับ กรรมการ
บัญชีและภาษี
บิลเงินสด
ประกัน keyman
ประกันCovid-19
ประกันสังคม
ประชุมบริษัท
ประเภทเช็ค
ผลขาดทุน
ผู้ถือหุ้น
ผู้ประกอบการ
พร้อมเพย์
พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ฟรีแลนซ์
ภ.ง.ด. 1ก
ภ.ง.ด.1 ก
ภ.ง.ด.54
ภ.พ.36
ภาษี
ภาษี e-Service
ภาษีDropship
ภาษีกองทุนตราสารหนี้
ภาษีกับการออกจากงาน
ภาษีการรับมรดก
ภาษีของแพทย์
ภาษีขาย
ภาษีซื้อ
ภาษีซื้อต้องห้าม
ภาษีดอกเบีี้ย
ภาษีที่ดิน
ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง
ภาษีธุรกิจเฉพาะ
ภาษีนำเข้าสินค้า
ภาษีป้าย
ภาษีฟรีแลนซ์
ภาษีมูลค่าเพิ่ม
ภาษีรถยนต์
ภาษีหัก ณ ที่จ่าย
ภาษีอากร
ภาษีอากรนำเข้า
ภาษีอีเพย์เมนต์
ภาษีเงินปันผล
ภาษีเงินได้จากการรับให้
ภาษีเงินได้นิติบุคคล
ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย
ภาษีโรงแรม
มาตรการผู้กู้ยืม กยศ.
มูลค่าต้นทุน
ย้ายกิจการ
ยื่นแบบ
ยื่นแบบอย่างไรให้ประหยัดค่าปรับที่สุด
รถยนต์นั่ง
รถแลกเงิน
ระบบรับชำระเงินอิเล็กทรอนิกส์
ร้านกาแฟ-เสียภาษี
รายจ่ายค่าซ่อมแซม
รายจ่ายจริง
รายจ่ายต้องห้าม
รายได้อื่น
ลดหย่อนทางภาษี
ลดหย่อนภาษี
ลาออกจากงาน
วงจรเงินสด
วางระบบบัญชี
วางแผนภาษี
ศุลกากร
ส่งสินค้าทางไปรษณีย์
ส่งเสริมการขาย
สต็อกสินค้า
สรุปประเด็นภาษี
ส่วนลดกาาค้าและส่วนลดเงินสด
สวัสดิการพนักงาน
สวัสดิการอาหารพนักงาน
สัญญาขายฝาก
สัญญาซื้อ
สัญญาฝากทรัพย์
สัญญายินยอม
สัญญาเช่า
สัญญาเช่าที่ดิน
สำนักงานบัญชี
สิทธิประโยชน์ทางภาษี
หนี้สิน
อั่งเปา
อากรแสตมป์
เกษตรกับวิธีเสียภาษี
เครื่องบันทึกการเก็บเงิน
เคลมภาษีซื้อ ค่าอบรม
เงินกู้ยืมกรรมการ
เงินค่าฝึกอบรม
เงินชดใช้ค่าเสียหาย
เงินทดรองจ่าย
เงินบำนาญชราภาพ
เงินบำเหน็จ
เงินปันผล
เงินมัดจำ
เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด
เงินสมทบประกันสังคม
เงินสำรองจ่าย
เงินเรียกเก็บล่วงหน้าจากการขายสินค้า
เงินได้พนักงาน
เงินได้พึงประเมิน
เช่าซื้อ-ลิสซิ่ง
เบี้ยประกัน
เบี้ยปรับ
เปิดบริษัท
เราเที่ยวด้วยกัน
เลขประจำตัวผู้เสียอากร
เลิกทำธุรกิจ
เสน่หากับภาษ๊
เอกสารการเบิกจ่ายเงิน
เอกสารทางภาษี
เอกสารบัญชี
แจกไฟล์
แรงงานต่างด้าว
โครงการคนละครึ่ง
โทษปรับ
ใบกำกับภาษี
ใบกำกับภาษีอย่างย่อ
ใบลดหนี้
ใบลดหนี้และใบเพิ่มหนี้
ใบสำคัญจ่าย
ใบหุ้น
ใบเสนอราคา
ใบเสร็จรับเงิน