อากรแสตมป์

บทความล่าสุด

อากรแสตมป์

ใบแจ้งหนี้ต้องติดอากรแสตมป์หรือไม่

กรณีที่บริษัทไม่มีการจัดทำเอกสารสัญญาจ้าง, ใบเสนอราคา, ใบสั่งจ้าง มีเพียงแค่การพูดคุยปากเปล่า และเมื่อให้บริการเสร็จสิ้นจึงได้ออกเอกสารใบแจ้งหนี้เพื่อเรียกเก็บค่าบริการ กรณีนี้ใบแจ้งหนี้ดังกล่าวไม่เข้าลักษณะเป็นตราสารที่ระบุไว้ในบัญชีอัตราอากรแสตมป์ จึงไม่ต้องติดอากรแสตมป์

by KKN การบัญชี

อากรแสตมป์

ทำสัญญาจ้างที่ปรึกษาต้องติดอากรแสตมป์หรือไม่

✔ ต้องติดครับ เพราเป็นสัญญาต่างตอบแทนที่คู่สัญญาทั้ง 2 ฝ่ายต่างมีหน้าที่ตอบแทนซึ่งกันและกันเข้าลักษณะเป็นสัญญาจ้างทำของ

by KKN การบัญชี

อากรแสตมป์

ทำสัญญากับต่างประเทศ ใครต้องติดอากรแสตมป์

วันนี้ผมได้ทำสรุปเรื่องเกี่ยวกับการทำสัญญากับต่างประเทศ ใครต้องติดอากรแสตมป์ มาให้ทุกคนครับ

by KKN การบัญชี

อากรแสตมป์

ทำความรู้จักกับ “อากรแสตมป์”

อากรแสตมป์ไม่ใช่แสตมป์ไปรษณีย์ ตราสารที่จะต้องติดอากรแสตมป์ ได้แก่ สัญญาเช่าโรงเรือน, เช่าซื้อทรัพย์สิน,จ้างทำของ, เงินกู้โดยผู้ให้เช่า ผู้โอน ผู้ให้กู้ ผู้รับจ้างจะต้องเป็นผู้ติดอากรแสตมป์ อัตราภาษีมูลค่าสัญญา 1,000 บาท ติดอากรแสตมป์ 1 บาทยกเว้นสัญญาเงินกู้มูลค่าสัญญา 2,000 บาทติดอากรแสตมป์ 1 บาท (ติดสูงสุดไม่เกิน 10,000 บาท)ค่าปรับ6 เท่าของอากรแสตมป์ที่จะต้องติด* ติดอากรแสตมป์เสร็จอย่างลืมขีดฆ่าป้องกันการนำกลับมาใช้อีก ถ้าไม่ขีดฆ่าก็โดนปรับ สัญญาจ้างทำของ คือ สัญญาที่ผู้รับจ้างตกลงทำการงานสิ่งหนึ่งจนสำเร็จให้กับผู้ว่าจ้าง โดยผู้ว่าจ้างตกลงให้สินจ้างเพื่อผลสำเร็จของงานนั้น ตัวอย่างการคำนวณอากรแสตมป์บริษัท เอ จำกัด ประกอบธุรกิจหอพักให้เช่า ได้มีการทำสัญญาให้เช่าห้องพักกับนายสมชาย ในอัตราปีละ 100,000 บาท โดยทำสัญญา 1 ปีบริษัทฯ จะต้องติดอากรแสตมป์ที่สัญญากี่บาท ฐานภาษี (รายได้ค่าเช่า) 100,000 บาท อัตราภาษี 1,000 ละ 1 บาท ต้องติดอากรแสตมป์ 100 บาท ใบเสนอราคาต้องติดอากรแสตมป์หรือไม่ เอกสารใบเสนอราคาและใบสั่งซื้อที่มีการลงลายมือชื่อผู้ว่าจ้างและผู้รับจ้าง […]

by KKN การบัญชี

ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง

ธุรกิจให้เช่าอสังหาริมทรัพย์ต้องเสียภาษีอะไรบ้าง

วันนี้แอดมินมาสรุปภาษีที่เกี่ยวข้องทั้งหมดสำหรับการทำธุรกิจให้เช่าอสังหาริมทรัพย์ เช่น หอพักให้เช่า บ้านพักให้เช่า ให้เช่าที่ดินเปล่า เป็นต้น

by KKN การบัญชี

ภาษีมูลค่าเพิ่ม

ขายรถยนต์ส่วนตัว เสียภาษีมั้ย?

สมมติตัวอย่างดังนี้ครับ นาย A ขายรถยนต์ส่วนตัวคันเก่าที่ตนเองใช้อยู่ปัจจุบันออกไป เพราะต้องการจะเปลี่ยนรถยนต์ใหม่มั้ย จะคำนวนภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาตอนสิ้นปีอย่างไรและรายได้จากการขายรถยนต์หักค่าใช้จ่ายอย่างไร? ภาษีเงินได้บุคคลธรมดา สำหรับภาษีเงินได้บุคคลธรรมดานั้นคำตอบก็คือ “นายA ไม่ต้องเอาเงินที่ได้จากการขายมารวมคำนวณเพื่อเสียภาษีเงินบุคคลธรรมดา” เพราะเนื่องจากการขายทรัพย์สินสิ่งของใช้ส่วนตัว เป็นการขายสังหาริมทรัพย์ที่ได้มาโดยไม่ได้มุ่งในทางการค้าหรือหากำไร จึงได้รับการยกเว้นไม่ต้องนำมารวมคำนวณเพื่อเสียภาษีเงินได้ (ตามมาตรา 42(9) แห่งประมวลรัษฎากร) แต่!!! ถ้าเป็นการขายโดยมุ่งในทางการค้าหรือหากำไร เงินที่ได้ขายจะเข้าลักษณะเป็นเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40(8) ต้องนำเงินได้ดังกล่าวมารวมคำนวณเพื่อเสียภาษีเงินได้ครับ (โดยมีสิทธิเลือกหักค่าใช้จ่ายได้ตามความจำเป็นและสมควร หรือหักค่าใช้จ่ายเป็นการเหมาในอัตราร้อยละ 60)  ภาษีมูลค่าเพิ่ม คำตอบก็คือ “ถึงแม้นาย A จะขายเกิน 1.8 ล้าน แต่นาย A ไม่ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม” ก็เพราะว่าบุคคลธรรมดา ขายสินค้าที่เป็นทรัพย์สินสิ่งของใช้ส่วนตัว ถ้าการขายสินค้าดังกล่าวไม่ได้ทำในเชิงธุรกิจหรือวิชาชีพ ก็ไม่ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม อากรแสตมป์ คำตอบก็คือ “การที่นาย A ขายรถยนต์ส่วนตัวต้องเสียอากรแสตมป์ในอัตรา 1 บาท/วงเงิน 200 บาท” ซึ่งหากเราดูจากบัญชีอัตราอากรแสตมป์แล้วการขายอสังหาริมทรัพย์นั้นจะต้องเสียอากรแสตมป์ในอัตรา 1 บาท/วงเงิน 200 บาท โดยมีวิธีการคำนวณดังนี้ครับ การขายรถยนต์   จะต้องเสียอากร […]

by KKN การบัญชี

50 ทวิ
Bitcoin
DBD Registered
e-filing
LTF
SME
SMEs
TFRS16
Uncategorized
Voucher
กท.20 ก
กรมสรรพากร
กองทุนรวม
ก่อสร้างอาคารบนที่ดินของกรรมการ
การขอรับบริจาค
การจัดสรรกำไรสะสม
การตัดหนี้สูญ
การบริจาค
การบันทึกบัญชีเงินสดรับ-จ่าย
การประมาณการกำไรสุทธิขาดไป
การลงทุน
การลงประกาศหนังสือพิมพ์
การลดหย่อนบริจาคทั่วไป
การเช่า
กิจการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
กิจการร่วมค้า และกิจการค้าร่วม
กิจการเพื่อสังคม
กิจการโรงแรม
ขนส่ง
ขอคืนเงินประกันไฟฟ้า
ขายกิจการ
ขายสินค้าต่ำกว่าทุน
ขายสินค้าส่งออกไปต่างประเทศ
ขายหนังสือแถมคอร์สเรียนออนไลน์
คริปโทเคอร์เรนซี
ความเสี่ยง-ภาษีเงินได้นิติบุคคล
ความเสี่ยงของกิจการ
ค่าขนส่ง
ค้าขายออนไลน์
ค่าตรวจสุขภาพ
ค่าปรับ
ค่ารักษาพยาบาล
ค่ารับรอง
ค่าสินไหมทดแทน
ค่าเช่า
ค่าเช่ารับล่วงหน้า
ค่าเบี้ยประกันชีวิต
ค่าเสื่อมราคา
ค่าใช้จ่าย
ค่าใช้จ่ายของกิจการ
ค่าใช้จ่ายทางภาษี
ค่าใช้จ่ายในการอบรม
งบการเงิน
งบการเงินส่วนบุคคล
จดทะเบียน
จดทะเบียนเพิ่มสาขา
จดภาษีมูลค่าเพิ่ม
จัดตั้งบริษัท
จ้างงานผู้สูงอายุ
จ้างที่ปรึกษาต่างประเทศ
จ้างเด็กจบใหม่
ช้อปดีมีคืน
ดอกเบี้ยค้างรับ
ตราประทับ
ทรัพย์สิน
ทั่วไป
ทำประกันให้พนักงาน
ธุรกรรม
ธุรกิจขนส่ง
บริจาค
บริษัท กับ กรรมการ
บัญชีและภาษี
บิลเงินสด
ประกัน keyman
ประกันCovid-19
ประกันสังคม
ประชุมบริษัท
ประเภทเช็ค
ผลขาดทุน
ผู้ถือหุ้น
ผู้ประกอบการ
พร้อมเพย์
พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ฟรีแลนซ์
ภ.ง.ด. 1ก
ภ.ง.ด.1 ก
ภ.ง.ด.54
ภ.พ.36
ภาษี
ภาษี e-Service
ภาษีDropship
ภาษีกองทุนตราสารหนี้
ภาษีกับการออกจากงาน
ภาษีการรับมรดก
ภาษีของแพทย์
ภาษีขาย
ภาษีซื้อ
ภาษีซื้อต้องห้าม
ภาษีดอกเบีี้ย
ภาษีที่ดิน
ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง
ภาษีธุรกิจเฉพาะ
ภาษีนำเข้าสินค้า
ภาษีป้าย
ภาษีฟรีแลนซ์
ภาษีมูลค่าเพิ่ม
ภาษีรถยนต์
ภาษีหัก ณ ที่จ่าย
ภาษีอากร
ภาษีอากรนำเข้า
ภาษีอีเพย์เมนต์
ภาษีเงินปันผล
ภาษีเงินได้จากการรับให้
ภาษีเงินได้นิติบุคคล
ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย
ภาษีโรงแรม
มาตรการผู้กู้ยืม กยศ.
มูลค่าต้นทุน
ย้ายกิจการ
ยื่นแบบ
ยื่นแบบอย่างไรให้ประหยัดค่าปรับที่สุด
รถยนต์นั่ง
รถแลกเงิน
ระบบรับชำระเงินอิเล็กทรอนิกส์
ร้านกาแฟ-เสียภาษี
รายจ่ายค่าซ่อมแซม
รายจ่ายจริง
รายจ่ายต้องห้าม
รายได้อื่น
ลดหย่อนทางภาษี
ลดหย่อนภาษี
ลาออกจากงาน
วงจรเงินสด
วางระบบบัญชี
วางแผนภาษี
ศุลกากร
ส่งสินค้าทางไปรษณีย์
ส่งเสริมการขาย
สต็อกสินค้า
สรุปประเด็นภาษี
ส่วนลดกาาค้าและส่วนลดเงินสด
สวัสดิการพนักงาน
สวัสดิการอาหารพนักงาน
สัญญาขายฝาก
สัญญาซื้อ
สัญญาฝากทรัพย์
สัญญายินยอม
สัญญาเช่า
สัญญาเช่าที่ดิน
สำนักงานบัญชี
สิทธิประโยชน์ทางภาษี
หนี้สิน
อั่งเปา
อากรแสตมป์
เกษตรกับวิธีเสียภาษี
เครื่องบันทึกการเก็บเงิน
เคลมภาษีซื้อ ค่าอบรม
เงินกู้ยืมกรรมการ
เงินค่าฝึกอบรม
เงินชดใช้ค่าเสียหาย
เงินทดรองจ่าย
เงินบำนาญชราภาพ
เงินบำเหน็จ
เงินปันผล
เงินมัดจำ
เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด
เงินสมทบประกันสังคม
เงินสำรองจ่าย
เงินเรียกเก็บล่วงหน้าจากการขายสินค้า
เงินได้พนักงาน
เงินได้พึงประเมิน
เช่าซื้อ-ลิสซิ่ง
เบี้ยประกัน
เบี้ยปรับ
เปิดบริษัท
เราเที่ยวด้วยกัน
เลขประจำตัวผู้เสียอากร
เลิกทำธุรกิจ
เสน่หากับภาษ๊
เอกสารการเบิกจ่ายเงิน
เอกสารทางภาษี
เอกสารบัญชี
แจกไฟล์
แรงงานต่างด้าว
โครงการคนละครึ่ง
โทษปรับ
ใบกำกับภาษี
ใบกำกับภาษีอย่างย่อ
ใบลดหนี้
ใบลดหนี้และใบเพิ่มหนี้
ใบสำคัญจ่าย
ใบหุ้น
ใบเสนอราคา
ใบเสร็จรับเงิน