เปิดบริษัท

บทความล่าสุด

จัดตั้งบริษัท

อยากเปลี่ยนจากบุคคลเป็นนิติบุคคลมีภาระภาษีอะไรบ้าง?

ทรัพย์สินเดิมธุรกิจในรูปแบบบุคคลธรรมดา ได้แก่ สินค้าสำหรับขาย สังหาริมทรัพย์ อสังหาริมทรัพย์ จดทะเบียนบริษัทโดยชำระค่าหุ้นด้วย “ทรัพย์สิน” สินค้าสำหรับขาย ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา เป็นเงินได้พึงประเมิน มาตรา 40(8) สามารถเลือกหักค่าใช้จ่ายได้ 2 แบบ แบบเหมาได้ร้อยละ 60 แบบตามความเป็นจริงและสมควร (ต้องแนบเอกสาร) ภาษีมูลค่าเพิ่ม (กรณีที่เป็นผู้ประกอบการการจดทะเบียนเท่านั้น) ไม่ถือเป็นการขาย ที่ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่มตามมาตรา 77/1 (8)(ฉ) สำหรับสินค้าคงเหลือของผู้ประกอบการที่ได้โอนกิจการทั้งหมด ***ทั้งนี้ผู้รับโอนกิจการต้องอยู่ในบังคับที่ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่มตามมาตรา 82/3 สังหาริมทรัพย์ ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา เป็นเงินได้พึงประเมินที่ได้รับการยกเว้นตามมาตรา 42(9) แห่งผลประมวลรัษฎากรสำหรับการขายสังหาริมทรัพย์อันเป็นมรดก หรือได้มาโดยไม่ได้มุ่งในทางการค้าหรือหากำไร ภาษีมูลค่าเพิ่ม (กรณีที่เป็นผู้ประกอบการการจดทะเบียนเท่านั้น) ไม่ถือเป็นการขาย ที่ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่มตามมาตรา 77/1 (8)(ฉ) สำหรับสินค้าคงเหลือของผู้ประกอบการที่ได้โอนกิจการทั้งหมดให้แก่กัน ***ทั้งนี้ผู้รับโอนกิจการต้องอยู่ในบังคับที่ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่มตามมาตรา 82/3 อสังหาริมทรัพย์ ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา เป็นเงินได้พึงประเมิน มาตรา 40(8) การขายอสังหาริมทรัพย์อันเป็นมรดกหรือที่ได้รับจากการให้โดยเสน่หา หรือ การขายอสังหาริมทรัพย์ที่ได้มาโดยทางอื่น(เสียที่กรมที่ดินจบเลย) ภาษีธุรกิจเฉพาะ เฉพาะการขายอสังหาริมทรัพย์เป็นทางการค้าหรือหากำไร กรณีที่ได้รับยกเว้นภาษีธุรกิจเฉพาะ มีชื่อในทะเบียนบ้านเกิน […]

by KKN การบัญชี

เปิดบริษัท

เปิดบริษัทแต่มีชาวต่างชาติมาหุ้นด้วยต้องทำอย่างไร??

หากมีชาวต่างชาติมาถือหุ้นด้วย จะให้ชาวต่างชาติถือหุ้นเท่าไหร่ดี?? มากกว่า 50 % >> บริษัทต่างด้าว มีข้อจำกัดในธุรกิจบางประเภทที่ห้ามทำ หรือจะต้องขออนุญาตก่อนถึงจะทำได้ ห้ามถือครองที่ดิน น้อยกว่า 50 % >> นิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย แล้วคนต่างชาติเป็นเจ้าของที่แท้จริง แต่อยากจดทะเบียนเป็นนิติบุคคลที่ตั้งตามกฎหมายไทยล่ะ?? หานอมินีทำสัญญาโอนขายหุ้นล่วงหน้า [ผิดกฏหมาย] การถือหุ้นไขว้กัน[เลี่ยงกฏหมาย] การถือหุ้นบุริมสิทธิ์ [คนต่างชาติถือหุ้นสามัญ คนไทยถือหุ้นบุริมสิทธิโดยกำหนดในข้อบังคับ ให้หุ้นบริสิทธิ 2 หุ้น = 1 เสียงเป็นต้น ] ถ้ามีคนต่างชาติมาถือหุ้น คนไทยต้องแสดงหลักฐานว่ามีเงินจริง (ป้องกันนอมินี) กรณีจดทะเบียนนิติบุคคลและมีคนต่างชาติเป็นผู้ถือหุ้น กรมพัฒน์จะกำหนดให้ผู้ถือหุ้นคนไทยจะต้องแสดงหลักฐานทางการเงินว่ามีเงินจริงตามสัดส่วนการถือหุ้น เพื่อป้องกันการเป็นนิมินี บริษัททุนจดทะเบียน 1,000,000 บาท คนต่างชาติถือหุ้น 49% = 510,000 บาท คนไทย A ถือหุ้น 26% = 260,000 บาท คนไทย B ถือหุ้น 25% […]

by KKN การบัญชี

จัดตั้งบริษัท

จดหรือไม่จดบริษัทดี

1. พิจารณาด้านความคุ้มค่า จดบริษัทมีค่าใช้จ่ายทำบัญชีและสอบบัญชี ถ้าภาษีที่ประหยัดได้น้อยกว่าค่าบริการทำบัญชีสอบบัญชี จะจดไปเพื่ออะไร 2. พิจารณาด้านลูกค้า ลูกค้าเป็นบุคคลธรรมดา : ลูกค้าไม่ได้สนใจเลยว่าเราจะต้องเป็นบริษัทหรือเปล่าขอแค่เค้าจ่ายเงินได้ของ ได้บริการก็พอ ลูกค้าเป็นนิติบุคคล : ลูกค้าเริ่มอยากได้บิลที่เป็นในนามบริษัทเพื่อให้ไม่มีปัญหากับสรรพากร ถ้าเราไม่จดบริษัทลูกค้าอาจจะไม่ค้าขายด้วย 3. พิจารณาด้านยุ่งยาก บริษัทเสียภาษีจากกำไรสุทธิ (รายได้ – ค่าใช้จ่าย) ถ้าเราจดบริษัท เราต้องมั่นใจว่าเราสามารถหาบิลค่าใช้จ่ายที่ถูกต้องตามที่สรรพากรยอมรับมาบันทึกค่าใช้จ่ายให้ได้ ถ้าหาไม่ได้บริษัทจะมีแต่รายได้ไม่มีค่าใช้จ่าย เราจะต้องเสียภาษีเยอะมากกก จดบริษัทเราต้องมีภาระจัดทำบัญชี และส่งงบการเงินให้สรรพากร 4. พิจารณาด้านการเติบโต • บริษัทมีการแบ่งหุ้นอย่างชัดเจน เราสามารถหาผู้ร่วมทุนเพื่อมาขยายกิจการ • บริษัทถูกบันทึกให้จัดทำบัญชี ยื่นงบต่อหน่วยงานรัฐ การพิจารณาสินเชื่อจากธนาคารจะทำได้ง่ายเพราะมีหลักฐานของรายได้ • กรณีแบ่งมรดกให้ลูกหลาน สามารถทำได้ง่ายโดนการแบ่งหุ้น

by KKN การบัญชี

จัดตั้งบริษัท

จดทะเบียนบริษัท ทุน 1 ล้านจำเป็นต้องมีเงินจริงหรือไม่

รู้หรือไม่?? ตอนจดทะเบียนบริษัทที่กรมพัฒน์ เจ้าหน้าที่จะไม่ขอดูว่าผู้ประกอบการมีเงินจริงตามที่จดทะเบียนตั้งบริษัท เจ้าหน้าที่จะเชื่อเอกสาร “ใบสำคัญรับชำระเงินค่าหุ้น” ที่ผู้ก่อการจัดทำขึ้น กรณีไหนบ้างที่เจ้าหน้าที่ต้องตรวจสอบการมีเงินจริง1.ทุนจดทะเบียนเกิน 5 ล้านบาท2.มีคนต่างชาติร่วมถือหุ้นในบริษัท การพิสูจน์ว่ามีเงินจริง กรมพัฒน์จะให้ผู้ถือหุ้นไปขอเอกสารยืนยันยอดคงเหลือในบัญชีเงินฝากกับธนาคารพาณิชย์ เพื่อยื่นยันว่าผู้ถือหุ้นมีเงินในบัญชีตามสัดส่วนการถือหุ้นจริง กรณีไม่มีเงินจริง นักบัญชีทำอย่างไร 1. นักบัญชีจะบันทึกรายการว่า “เจ้าของเอาเงินสดมาลงทุนครบตามที่จดทะเบียน” 2. นักบัญชีจะบันทึกรายการว่า “บริษัทให้กรรมการกู้ยืมเงินออกไป” ข้อควรระวัง บริษัทให้กรรมการกู้ยืมเงิน บริษัทจะต้องมีการคิดดอกเบี้ยเงินให้กู้ยืมและรายได้ดอกเบี้ยรับที่เรียกเก็บจากกรรมการจะต้องถูกเอาไปรวมเป็นรายได้ในการคำนวนภาษีเงินได้นิติบุคคล

by KKN การบัญชี

เปิดบริษัท

เปิดบริษัทต้องเตรียมค่าใช้จ่ายเท่าไหร่

ค่าบริการเลิกกิจการ ราคาตลาดค่าบริการเลิกกิจการอยู่ที่ 15,000 – 20,000 บาท หมายเหตุ: กรณีจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มจะมีค่าใช้จ่ายเพิ่ม 3,000 – 5,000 บาท

by KKN การบัญชี

เปิดบริษัท

1 ที่อยู่จดได้กี่บริษัท???

ในการจดทะเบียนจัดตั้งบริษัทเรื่องสำคัญมีอยู่แค่ 2 เรื่องเท่านั้นคือ หาผู้ถือหุ้นให้ได้ 3 คน (ถ้าหจก.ก็ 2 คน) หาที่อยู่ให้กับบริษัทสำหรับที่อยู่ในการจดทะเบียนจัดตั้งบริษัทนั้นเราสามารถใช้บ้าน ตึกแถว อาคารสำนักงาน เป็นที่อยู่ให้กับบริษัทได้ ยกเว้นคอนโด หอพัก อพาร์ทเม้น ห้ามใช้เป็นที่อยู่บริษัท (ตอนจดทะเบียนกับกรมพัฒน์ เจ้าหน้าที่อาจจะปล่อยให้จดทะเบียนได้ แต่พอเราจะไปจดทะเบียน VAT สรรพากรจะไม่ยอม)

by KKN การบัญชี

เปิดบริษัท

เปิดบริษัท จะต้องทำบัญชีอะไรบ้าง

ตามกฏหมายแล้วนิติบุคคลจะต้องจัดทำบัญชีดังต่อไปนี้ บัญชีรายวัน (ต้องบันทึกรายการภายใน 15 วันนับจากวันที่รายการนั้นเกิดรายการ) ได้แก่ บัญชีเงินสด บัญชีธนาคาร แยกเป็นแต่ละเลขที่บัญชีธนาคาร บัญชีรายวันซื้อ บัญชีรายวันขาย บัญชีรายวันทั่วไป บัญชีแยกประเภท (ต้องบันทึกรายการภายใน 15 วันนับจากวันสิ้นเดือนของเดือนที่รายการนั้นเกิดขึ้น) บัญชีแยกประเภทสินทรัพย์ หนี้สินและทุน บัญชีแยกประเภทรายได้และค่าใช้จ่าย บัญชีแยกประเภทลูกหนี้ บัญชีแยกประเภทเจ้าหนี้ บัญชีสินค้า (ต้องบันทึกรายการภายใน 15 วันนับจากวันสิ้นเดือนของเดือนที่รายการนั้นเกิดขึ้น) กฏหมายบอกว่าบัญชีรายวันต้องบันทึกรายการภายใน 15 วันนับจากวันที่รายการนั้นเกิดรายการ

by KKN การบัญชี

50 ทวิ
Bitcoin
DBD Registered
e-filing
LTF
SME
SMEs
TFRS16
Uncategorized
Voucher
กท.20 ก
กรมสรรพากร
กองทุนรวม
ก่อสร้างอาคารบนที่ดินของกรรมการ
การขอรับบริจาค
การจัดสรรกำไรสะสม
การตัดหนี้สูญ
การบริจาค
การบันทึกบัญชีเงินสดรับ-จ่าย
การประมาณการกำไรสุทธิขาดไป
การลงทุน
การลงประกาศหนังสือพิมพ์
การลดหย่อนบริจาคทั่วไป
การเช่า
กิจการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
กิจการร่วมค้า และกิจการค้าร่วม
กิจการเพื่อสังคม
กิจการโรงแรม
ขนส่ง
ขอคืนเงินประกันไฟฟ้า
ขายกิจการ
ขายสินค้าต่ำกว่าทุน
ขายสินค้าส่งออกไปต่างประเทศ
ขายหนังสือแถมคอร์สเรียนออนไลน์
คริปโทเคอร์เรนซี
ความเสี่ยง-ภาษีเงินได้นิติบุคคล
ความเสี่ยงของกิจการ
ค่าขนส่ง
ค้าขายออนไลน์
ค่าตรวจสุขภาพ
ค่าปรับ
ค่ารักษาพยาบาล
ค่ารับรอง
ค่าสินไหมทดแทน
ค่าเช่า
ค่าเช่ารับล่วงหน้า
ค่าเบี้ยประกันชีวิต
ค่าเสื่อมราคา
ค่าใช้จ่าย
ค่าใช้จ่ายของกิจการ
ค่าใช้จ่ายทางภาษี
ค่าใช้จ่ายในการอบรม
งบการเงิน
งบการเงินส่วนบุคคล
จดทะเบียน
จดทะเบียนเพิ่มสาขา
จดภาษีมูลค่าเพิ่ม
จัดตั้งบริษัท
จ้างงานผู้สูงอายุ
จ้างที่ปรึกษาต่างประเทศ
จ้างเด็กจบใหม่
ช้อปดีมีคืน
ดอกเบี้ยค้างรับ
ตราประทับ
ทรัพย์สิน
ทั่วไป
ทำประกันให้พนักงาน
ธุรกรรม
ธุรกิจขนส่ง
บริจาค
บริษัท กับ กรรมการ
บัญชีและภาษี
บิลเงินสด
ประกัน keyman
ประกันCovid-19
ประกันสังคม
ประชุมบริษัท
ประเภทเช็ค
ผลขาดทุน
ผู้ถือหุ้น
ผู้ประกอบการ
พร้อมเพย์
พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ฟรีแลนซ์
ภ.ง.ด. 1ก
ภ.ง.ด.1 ก
ภ.ง.ด.54
ภ.พ.36
ภาษี
ภาษี e-Service
ภาษีDropship
ภาษีกองทุนตราสารหนี้
ภาษีกับการออกจากงาน
ภาษีการรับมรดก
ภาษีของแพทย์
ภาษีขาย
ภาษีซื้อ
ภาษีซื้อต้องห้าม
ภาษีดอกเบีี้ย
ภาษีที่ดิน
ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง
ภาษีธุรกิจเฉพาะ
ภาษีนำเข้าสินค้า
ภาษีป้าย
ภาษีฟรีแลนซ์
ภาษีมูลค่าเพิ่ม
ภาษีรถยนต์
ภาษีหัก ณ ที่จ่าย
ภาษีอากร
ภาษีอากรนำเข้า
ภาษีอีเพย์เมนต์
ภาษีเงินปันผล
ภาษีเงินได้จากการรับให้
ภาษีเงินได้นิติบุคคล
ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย
ภาษีโรงแรม
มาตรการผู้กู้ยืม กยศ.
มูลค่าต้นทุน
ย้ายกิจการ
ยื่นแบบ
ยื่นแบบอย่างไรให้ประหยัดค่าปรับที่สุด
รถยนต์นั่ง
รถแลกเงิน
ระบบรับชำระเงินอิเล็กทรอนิกส์
ร้านกาแฟ-เสียภาษี
รายจ่ายค่าซ่อมแซม
รายจ่ายจริง
รายจ่ายต้องห้าม
รายได้อื่น
ลดหย่อนทางภาษี
ลดหย่อนภาษี
ลาออกจากงาน
วงจรเงินสด
วางระบบบัญชี
วางแผนภาษี
ศุลกากร
ส่งสินค้าทางไปรษณีย์
ส่งเสริมการขาย
สต็อกสินค้า
สรุปประเด็นภาษี
ส่วนลดกาาค้าและส่วนลดเงินสด
สวัสดิการพนักงาน
สวัสดิการอาหารพนักงาน
สัญญาขายฝาก
สัญญาซื้อ
สัญญาฝากทรัพย์
สัญญายินยอม
สัญญาเช่า
สัญญาเช่าที่ดิน
สำนักงานบัญชี
สิทธิประโยชน์ทางภาษี
หนี้สิน
อั่งเปา
อากรแสตมป์
เกษตรกับวิธีเสียภาษี
เครื่องบันทึกการเก็บเงิน
เคลมภาษีซื้อ ค่าอบรม
เงินกู้ยืมกรรมการ
เงินค่าฝึกอบรม
เงินชดใช้ค่าเสียหาย
เงินทดรองจ่าย
เงินบำนาญชราภาพ
เงินบำเหน็จ
เงินปันผล
เงินมัดจำ
เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด
เงินสมทบประกันสังคม
เงินสำรองจ่าย
เงินเรียกเก็บล่วงหน้าจากการขายสินค้า
เงินได้พนักงาน
เงินได้พึงประเมิน
เช่าซื้อ-ลิสซิ่ง
เบี้ยประกัน
เบี้ยปรับ
เปิดบริษัท
เราเที่ยวด้วยกัน
เลขประจำตัวผู้เสียอากร
เลิกทำธุรกิจ
เสน่หากับภาษ๊
เอกสารการเบิกจ่ายเงิน
เอกสารทางภาษี
เอกสารบัญชี
แจกไฟล์
แรงงานต่างด้าว
โครงการคนละครึ่ง
โทษปรับ
ใบกำกับภาษี
ใบกำกับภาษีอย่างย่อ
ใบลดหนี้
ใบลดหนี้และใบเพิ่มหนี้
ใบสำคัญจ่าย
ใบหุ้น
ใบเสนอราคา
ใบเสร็จรับเงิน