ใบเสร็จรับเงิน

บทความล่าสุด

ใบเสร็จรับเงิน

ใบเสร็จแยกค่าของ กับ ค่าแรงหักภาษี ณ ที่จ่ายอย่างไร

ในการหักภาษี ณ ที่จ่าย เราต้องแยกให้ได้ก่อนว่ารายการจ่ายเงินดังกล่าวเป็นลักษณะไหน ระหว่าง มุ่งโอนกรรมสิทธิ์ในสินค้า กับ มุ่งความสำเร็จของงาน มุ่งโอนกรรมสิทธิ์ในสินค้า มุ่งโอนกรรมสิทธิ์ในสินค้า = ขายสินค้า ลักษณะจะเป็นเน้นขายสินค้า แต่บางครั้งอาจจะมีบริการช่วยติดตั้งเล็กๆ น้อยๆ เพื่ออำนวยความสะดวกให้ลูกค้าทำให้ขายสินค้าได้ง่ายขึ้น เช่น ซื้อแอร์แถมบริการติดตั้ง, ซื้อเครื่องซักผ้าแถมบริการติดตั้ง เป็นต้น สรุป: มุ่งโอนกรรมสิทธิ์ในสินค้า ผู้ขายออกบิลมาแต่ค่าสินค้า ก็ไม่ต้องหักภาษี ณ ที่จ่าย ผู้ขายออกบิลแยกค่าสินค้า กับ ค่าบริการออกจากกัน ให้เราทำการหักภาษี ณ ที่จ่ายเฉพาะค่าบริการเท่านั้น มุ่งความสำเร็จของงาน มุ่งความสำเร็จของงาน = สัญญาจ้างทำของ คือสัญญาซึ่งผู้รับจ้างตกลงจะทำการงานสิ่งใดสิ่งหนึ่งจนสำเร็จให้แก่ผู้ว่าจ้าง และผู้ว่าจ้างตกลงจะให้สินจ้างเพื่อผลสำเร็จแห่งการที่ทำนั้น สาระสำคัญของสัญญาจ้างทำของ อยู่ที่ผลสำเร็จของงานดังนั้น ค่าวัสดุ อุปกรณ์ที่ใช้ในการรับจ้างทำของ ย่อมถือเป็นส่วนหนึ่งของสัญญาจ้า้งทำของ ซึ่งอยู่ในบังคับต้องถูกหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย สรุป: มุ่งความสำเร็จของงาน หักภาษี ณ ที่จ่าย จาก ค่าของ + ค่าแรง […]

by KKN การบัญชี

ใบเสร็จรับเงิน

อย่าคิดสั้นวางแผนภาษีโดยการซื้อบิล

วงจรการซื้อบิล ทำไมถึงต้องเลิกซื้อบิล สมัย 20 ปีก่อน สรรพากรบอกว่ากิจการไหน ถ้ามีใบกำกับภาษีปลอมไม่เกิน 75% ของทั้งหมด ถ้ามาชำระภาษีจะไม่เอาผิดทางภาษี > ปลอมกันทั้งประเทศเพราะไม่กฏหมายไม่โหด ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2560 ใครใช้ใบกำกับภาษีปลอม 1 ใบติดคุก 7 ปี  ถ้าปลอม 10 ใบติดคุก 70 ปี (แต่กฎหมายให้ติดคุกสูงสุดไม่เกิน 20 ปี)

by KKN การบัญชี

บิลเงินสด

บิลเงินสดกับใบเสร็จรับเงินต่างกันอย่างไร?

ชื่อเอกสารไม่สำคัญเท่ากับเอกสารที่ได้รับมา สรรพากรยอมรับให้นำมาเป็นค่าใช้จ่ายทางภาษีหรือไม่ สรรพากรได้ออกแนวทางช่วยเหลือผู้ประกอบการในกรณีซื้อสินค้าหรือบริการจากบุคคลธรรมดาหรือหลักฐานไม่เพียงพอ ให้สามารถนำค่าใช้จ่ายดังกล่าวมาบันทึกเป็นค่าใช้จ่ายทางภาษีที่สรรพากรยอมรับ ให้ปฏิบัติดังต่อไปนี้ 1.จัดทำเอกสารใบแทนการรับเงิน (เลือกใช้ให้ถูกต้องตามแต่ละสถานการณ์) เอกสารใบสำคัญรับเงิน + แนบบัตรประชาชน ใบสำคัญรับเงิน : ใช้กรณีผู้รับเงินไม่สามารถออกใบเสร็จรับเงินหรือบิลเงินสดที่ถูกต้องให้ได้ แต่ยินยอมจะลงรายมือชื่อในช่อง “ผู้รับเงิน” และแนบสำเนาบัตรประชาชนผู้ขายด้วย หรือเอกสารใบรับรองแทนใบสำคัญรับเงิน ใบรับรองแทนใบเสร็จรับเงิน : ใช้กรณีใช้ในกรณีกิจการจ่ายเงินค่าซื้อสินค้าหรือบริการเบ็ดเตล็ด (ยอดเงินน้อยๆ) แต่ไม่สามารถเรียกใบเสร็จรับเงินหรือบิลเงินสดที่ถูกต้องจากผู้ขายหรือผู้ให้บริการได้ต้องให้พนักงานของกิจการเป็นผู้รับรองการจ่ายเงินดังกล่าว

by KKN การบัญชี

ใบเสร็จรับเงิน

บุคคลธรรมดาออกใบเสร็จรับเงินได้หรือไม่

บางครั้งบุคคลธรรมดาทำธุรกิจกับพวกบริษัท เวลาจะไปเรียกเก็บเงินบริษัทมักจะให้บุคคลธรรมดาออกเอกสารใบแจ้งหนี้เพื่อไปวางบิล หรือออกเอกสารใบเสร็จรับเงินเพื่อไปรับเช็ค ตัวอย่างใบเสร็จรับเงิน ใส่ข้อมูลชื่อและที่อยู่บุคคลธรรมดา เลขประจำตัวบัตรประชาชนของบุคคลธรรมดา ก็คือเลขประจำตัวผู้เสียภาษีนั้นเอง และสำหรับแบบฟอร์มใบเสร็จรับเงินสามารถปรับเปลี่ยนให้เพราะสมกับธุรกิจของแต่ละคนครับ ปล. กรณีออกเอกสารใบแจ้งหนี้ ก็แค่เปลี่ยนจากคำว่า “ใบเสร็จรับเงิน” เป็น “ใบแจ้งหนี้”

by KKN การบัญชี

50 ทวิ
Bitcoin
DBD Registered
e-filing
LTF
SME
SMEs
TFRS16
Uncategorized
Voucher
กท.20 ก
กรมสรรพากร
กองทุนรวม
ก่อสร้างอาคารบนที่ดินของกรรมการ
การขอรับบริจาค
การจัดสรรกำไรสะสม
การตัดหนี้สูญ
การบริจาค
การบันทึกบัญชีเงินสดรับ-จ่าย
การประมาณการกำไรสุทธิขาดไป
การลงทุน
การลงประกาศหนังสือพิมพ์
การลดหย่อนบริจาคทั่วไป
การเช่า
กิจการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
กิจการร่วมค้า และกิจการค้าร่วม
กิจการเพื่อสังคม
กิจการโรงแรม
ขนส่ง
ขอคืนเงินประกันไฟฟ้า
ขายกิจการ
ขายสินค้าต่ำกว่าทุน
ขายสินค้าส่งออกไปต่างประเทศ
ขายหนังสือแถมคอร์สเรียนออนไลน์
คริปโทเคอร์เรนซี
ความเสี่ยง-ภาษีเงินได้นิติบุคคล
ความเสี่ยงของกิจการ
ค่าขนส่ง
ค้าขายออนไลน์
ค่าตรวจสุขภาพ
ค่าปรับ
ค่ารักษาพยาบาล
ค่ารับรอง
ค่าสินไหมทดแทน
ค่าเช่า
ค่าเช่ารับล่วงหน้า
ค่าเบี้ยประกันชีวิต
ค่าเสื่อมราคา
ค่าใช้จ่าย
ค่าใช้จ่ายของกิจการ
ค่าใช้จ่ายทางภาษี
ค่าใช้จ่ายในการอบรม
งบการเงิน
งบการเงินส่วนบุคคล
จดทะเบียน
จดทะเบียนเพิ่มสาขา
จดภาษีมูลค่าเพิ่ม
จัดตั้งบริษัท
จ้างงานผู้สูงอายุ
จ้างที่ปรึกษาต่างประเทศ
จ้างเด็กจบใหม่
ช้อปดีมีคืน
ดอกเบี้ยค้างรับ
ตราประทับ
ทรัพย์สิน
ทั่วไป
ทำประกันให้พนักงาน
ธุรกรรม
ธุรกิจขนส่ง
บริจาค
บริษัท กับ กรรมการ
บัญชีและภาษี
บิลเงินสด
ประกัน keyman
ประกันCovid-19
ประกันสังคม
ประชุมบริษัท
ประเภทเช็ค
ผลขาดทุน
ผู้ถือหุ้น
ผู้ประกอบการ
พร้อมเพย์
พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ฟรีแลนซ์
ภ.ง.ด. 1ก
ภ.ง.ด.1 ก
ภ.ง.ด.54
ภ.พ.36
ภาษี
ภาษี e-Service
ภาษีDropship
ภาษีกองทุนตราสารหนี้
ภาษีกับการออกจากงาน
ภาษีการรับมรดก
ภาษีของแพทย์
ภาษีขาย
ภาษีซื้อ
ภาษีซื้อต้องห้าม
ภาษีดอกเบีี้ย
ภาษีที่ดิน
ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง
ภาษีธุรกิจเฉพาะ
ภาษีนำเข้าสินค้า
ภาษีป้าย
ภาษีฟรีแลนซ์
ภาษีมูลค่าเพิ่ม
ภาษีรถยนต์
ภาษีหัก ณ ที่จ่าย
ภาษีอากร
ภาษีอากรนำเข้า
ภาษีอีเพย์เมนต์
ภาษีเงินปันผล
ภาษีเงินได้จากการรับให้
ภาษีเงินได้นิติบุคคล
ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย
ภาษีโรงแรม
มาตรการผู้กู้ยืม กยศ.
มูลค่าต้นทุน
ย้ายกิจการ
ยื่นแบบ
ยื่นแบบอย่างไรให้ประหยัดค่าปรับที่สุด
รถยนต์นั่ง
รถแลกเงิน
ระบบรับชำระเงินอิเล็กทรอนิกส์
ร้านกาแฟ-เสียภาษี
รายจ่ายค่าซ่อมแซม
รายจ่ายจริง
รายจ่ายต้องห้าม
รายได้อื่น
ลดหย่อนทางภาษี
ลดหย่อนภาษี
ลาออกจากงาน
วงจรเงินสด
วางระบบบัญชี
วางแผนภาษี
ศุลกากร
ส่งสินค้าทางไปรษณีย์
ส่งเสริมการขาย
สต็อกสินค้า
สรุปประเด็นภาษี
ส่วนลดกาาค้าและส่วนลดเงินสด
สวัสดิการพนักงาน
สวัสดิการอาหารพนักงาน
สัญญาขายฝาก
สัญญาซื้อ
สัญญาฝากทรัพย์
สัญญายินยอม
สัญญาเช่า
สัญญาเช่าที่ดิน
สำนักงานบัญชี
สิทธิประโยชน์ทางภาษี
หนี้สิน
อั่งเปา
อากรแสตมป์
เกษตรกับวิธีเสียภาษี
เครื่องบันทึกการเก็บเงิน
เคลมภาษีซื้อ ค่าอบรม
เงินกู้ยืมกรรมการ
เงินค่าฝึกอบรม
เงินชดใช้ค่าเสียหาย
เงินทดรองจ่าย
เงินบำนาญชราภาพ
เงินบำเหน็จ
เงินปันผล
เงินมัดจำ
เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด
เงินสมทบประกันสังคม
เงินสำรองจ่าย
เงินเรียกเก็บล่วงหน้าจากการขายสินค้า
เงินได้พนักงาน
เงินได้พึงประเมิน
เช่าซื้อ-ลิสซิ่ง
เบี้ยประกัน
เบี้ยปรับ
เปิดบริษัท
เราเที่ยวด้วยกัน
เลขประจำตัวผู้เสียอากร
เลิกทำธุรกิจ
เสน่หากับภาษ๊
เอกสารการเบิกจ่ายเงิน
เอกสารทางภาษี
เอกสารบัญชี
แจกไฟล์
แรงงานต่างด้าว
โครงการคนละครึ่ง
โทษปรับ
ใบกำกับภาษี
ใบกำกับภาษีอย่างย่อ
ใบลดหนี้
ใบลดหนี้และใบเพิ่มหนี้
ใบสำคัญจ่าย
ใบหุ้น
ใบเสนอราคา
ใบเสร็จรับเงิน