ภาษีอากร

บทความล่าสุด

ภาษีอากร

เขตปลอดอากร( Free Zone)

สิทธิประโยชน์ในเขตปลอดอากร ได้รับยกเว้นอากรขาเข้า ไม่จำกัดระยะเวลาการจัดเก็บ การตรวจปล่อยสินค้าบางส่วน การค้าระหว่างผู้ประกอบการภายในเขตปลอดอากร สามารถทำการผลิต ผสม แปรรูป ประกอบ บรรจุภายในเขตปลอดอากร ยกเว้นกฎหมายเกี่ยวกับการควบคุมมาตราฐานหรือคุณภาพต่างๆ คืนเงินอากรขาออก บริษัท B ผู้ว่าจ้างต้องหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย ในอัตราร้อยละ 3.0 ของเงินได้ และนำส่งตามแบบ ภ.ง.ด.53 เว้นแต่บริษัท A ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้ เนื่องจากได้รับการส่งเสริมการลงทุน

by KKN การบัญชี

ภาษีอากร

สิทธิในการอุทธรณ์ภาษีอากร

สิทธิในการอุทธรณ์ภาษีอากรเมื่อเราถูกเจ้าพนักงานประเมิน ประเมินภาษีอากรว่าไม่ถูกต้อง เราสามารถใช้สิทธิคัดค้านการประเมินภาษีอากรต่อคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ได้ แบบคำอุทธรณ์ที่อธิบดีกำหนด– แบบคำอุทธรณ์ (ภ.ส.6) ใช้ได้กับการอุทธรณ์ทุกกรณี– แบบคำอุทธรณ์และคัดค้านการประเมินภาษีอากร (กศก.171) ใช้เฉพาะการอุทธรณ์เพื่อคัดค้านการประเมินภาษีมูลค่าเพิ่มของเจ้าพนักงานประเมินกรมศุลกากร โดยผู้ถูกประเมินภาษีจะยื่นคำอุทธรณ์ที่กรมสรรพากร หรือกรมศุลกากรก็ได้ หลักฐานที่ต้องยื่นพร้อมกับการยื่นอุทธรณ์มีอะไรบ้าง?1.หนังสือแจ้งการประเมินหรือแบบคำสั่งให้ชำระภาษีอากรฉบับที่ต้องการคัดค้านการประเมิน โดยเป็นต้นฉบับหรือภาพถ่ายที่รับรองสำเนาถูกต้อง2.ภาพถ่ายบัตรประจำตัวประชาชนของผู้ถูกประเมินภาษีกรณีเป็นนิติบุคคล– ให้แนบหนังสือรับรองของกระทรวงพาณิชย์– ภาพถ่ายบัตรประจำตัวประชาชนของกรรมการผู้จัดการหรือหุ้นส่วนผู้จัดการพร้อมประทับตรานิติบุคคลกำกับการลงชื่อของผู้มีอำนาจลงนามแทนนิติบุคคลกรณีมิได้มายื่นอุทธรณ์ด้วยตนเอง– ถ้ากระทำการครั้งเดียว ให้จัดทำหนังสือมอบอำนาจกระทำการโดยปิดอากรแสตมป์ 10 บาท– ถ้ากระทำการมากกว่าหนึ่งครั้งปิดอากรแสตมป์ 30 บาท พร้อมภาพถ่ายบัตรประจำตัวประชาชนของผู้มอบอำนาจ และผู้รับมอบอำนาจที่ลงลายมือชื่อรับรองว่าสำเนาถูกต้อง3.ภาพถ่ายทะเบียนบ้าน4.หลักฐานอื่นๆ ที่ได้อ้างประกอบคำอุทธรณ์ เช่น ภ.พ.20 ,หนังสือแจ้งการเปลี่ยนแปลงทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม (ภ.พ.09), รายงานภาษีซื้อ-ขาย ,สำหรับเดือนภาษีที่ถูกประเมิน ,ใบกำกับภาษี ฯลฯ ผู้ถูกประเมินภาษีอากรสามารถยื่นอุทธรณ์ต่อใคร?ในเขตกรุงเทพมหานครยื่นอุทธรณ์ต่อคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ ซึ่งประกอบด้วย– อธิบดีกรมสรรพากรหรือผู้แทน– ผู้แทนสำนักงานอัยการสูงสุด– ผู้แทนกรมการปกครองในต่างจังหวัดยื่นอุทธรณ์ต่อคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ ซึ่งประกอบด้วย– ผู้ว่าราชการจังหวัดหรือผู้แทน– สรรพากรภาคหรือผู้แทน– อัยการจังหวัดหรือผู้แทน ผลการพิจารณาอุทธรณ์เป็นอย่างไร?เมื่อผู้อุทธรณ์ได้ยื่นอุทธรณ์ต่อคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์แล้ว คณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์จะพิจารณาและวินิจฉัยข้อโต้แย้งตามคำอุทธรณ์นั้น เมื่อแล้วเสร็จจะส่งผลเป็นคำวินิจฉัยอุทธรณ์ (ภ.ส.7) ให้แก่ผู้ยื่นอุทธรณ์ดังนี้1.ให้ปลดภาษีเนื่องจากพิจารณาเห็นว่าการประเมินไม่ถูกต้องในกรณีนี้ผู้อุทธรณ์ไม่ต้องเสียภาษีตามการประเมิน2.ให้ลดภาษีเนื่องจากพิจารณาเห็นว่าการประเมินบางส่วนถูกต้องและบางส่วนไม่ถูกต้อง จึงปรับปรุงจำนวนภาษีให้คงเหลือเท่าที่ผู้อุทธรณ์ต้องชำระภาษีเพิ่มเติมให้ครบถ้วน3.ให้ยกอุทธรณ์เนื่องจากพิจารณาเห็นว่าการประเมินถูกต้องแล้วซึ่งผู้อุทธรณ์ต้องเสียภาษีตามการประเมิน4.ให้เพิ่มภาษีเนื่องจากได้พิจารณาประเด็นการประเมินและข้อโต้แย้งของผู้อุทธรณ์แล้ว ปรากฏว่าการประเมินถูกต้องแต่เจ้าพนักงานประเมินคำนวณภาษีคลาดเคลื่อนต่ำไป คณะกรรมการฯ อาจปรับปรุงการคำนวณภาษีและมีคำวินิจฉัยอุทธรณ์ให้ผู้อุทธรณ์เสียภาษีเพิ่มขึ้นได้ หากผู้อุทธรณ์ยังไม่เห็นด้วยกับคำวินิจฉัยอุทธรณ์ของคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์  มีสิทธิยื่นคำฟ้องต่อศาลภาษีอากรภายใน 30 […]

by KKN การบัญชี

ภาษีอากร

สรุปประเด็นเรื่อง“ชื่อ ที่อยู่ และเลขประจำตัวผู้เสียภาษีอากร”

ฝั่งผู้ขายสินค้าหรือผู้ให้บริการ ชื่อ ต้องเป็นชื่อผู้ประกอบการตามที่ได้จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม หรือ ชื่อสถานประกอบการ หรือ ชื่อการค้าของสถานประกอบการตามที่ได้จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม ที่อยู่ ต้องเป็นที่ตั้งของสถานประกอบการตามที่ได้จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม กรณีระบุที่อยู่ไม่ครบถ้วนตามที่จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม แต่รายการที่อยู่ที่ระบุไว้ถูกต้อง และสามารถบอกตำแหน่งที่ตั้งที่ชัดเจนได้ เลขประจำตัวผู้เสียภาษีอากร ต้องระบุให้ชัดเจนและครบถ้วน ฝั่งผู้ซื้อสินค้าหรือผู้ให้บริการ ชื่อ กรณีเป็นนิติบุคล ต้องเป็นชื่อผู้ประกอบการตามที่ได้จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม หรือ ชื่อสถานประกอบการ หรือ ชื่อการค้าของสถานประกอบการตามที่ได้จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม กรณีเป็นบุคคลธรรมดา ชื่อต้องรวมถึงนามสกุลด้วย กรณีมีการใช้เครื่องหมายไปยาลน้อย (ฯ) ต้องเห็นได้อย่างชัดเจนและไม่ทำให้เกิดความเข้าใจผิดว่าเป็นผู้ประกอบการรายอื่น เช่น “องค์การสวนยางแห่งประเทศไทย” เขียนว่า “องค์การสวนยางฯ” “บริษัท โบรกเกอร์กรุงเทพมหานคร จำกัด” เขียนว่า “บริษัท โบรกเกอร์กรุงเทพฯ จำกัด กรณีตัวสะกด สระ วรรณยุกต์ การันต์ ผิดพลาด ต้องเห็นได้อย่างชัดเจนและไม่ทำให้เกิดความเข้าใจผิดว่าเป็นผู้ประกอบการรายอื่น ที่อยู่ ต้องเป็นที่ตั้งของสถานประกอบการตามที่ได้จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม กรณีระบุที่อยู่ไม่ครบถ้วนตามที่จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม แต่รายการที่อยู่ที่ระบุไว้ถูกต้อง และสามารถบอกตำแหน่งที่ตั้งที่ชัดเจนได้ ก็ถือว่าได้ระบุที่อยู่ครบถ้วนแล้ว เลขประจำตัวผู้เสียภาษีอากร ต้องระบุให้ชัดเจนและครบถ้วน ไม่กรอกเลขประจำตัวผู้เสียภาษีอากรของผู้ซื้อก็ได้

by KKN การบัญชี

ภาษีอากร

อธิบายภาษีสำหรับคนที่ไม่ได้จบบัญชี

พร้อมจะทำความเข้าใจเรื่องภาษีด้วยภาษีชาวบ้านๆกันรึยัง

by KKN การบัญชี

50 ทวิ
Bitcoin
DBD Registered
e-filing
LTF
SME
SMEs
TFRS16
Uncategorized
Voucher
กท.20 ก
กรมสรรพากร
กองทุนรวม
ก่อสร้างอาคารบนที่ดินของกรรมการ
การขอรับบริจาค
การจัดสรรกำไรสะสม
การตัดหนี้สูญ
การบริจาค
การบันทึกบัญชีเงินสดรับ-จ่าย
การประมาณการกำไรสุทธิขาดไป
การลงทุน
การลงประกาศหนังสือพิมพ์
การลดหย่อนบริจาคทั่วไป
การเช่า
กิจการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
กิจการร่วมค้า และกิจการค้าร่วม
กิจการเพื่อสังคม
กิจการโรงแรม
ขนส่ง
ขอคืนเงินประกันไฟฟ้า
ขายกิจการ
ขายสินค้าต่ำกว่าทุน
ขายสินค้าส่งออกไปต่างประเทศ
ขายหนังสือแถมคอร์สเรียนออนไลน์
คริปโทเคอร์เรนซี
ความเสี่ยง-ภาษีเงินได้นิติบุคคล
ความเสี่ยงของกิจการ
ค่าขนส่ง
ค้าขายออนไลน์
ค่าตรวจสุขภาพ
ค่าปรับ
ค่ารักษาพยาบาล
ค่ารับรอง
ค่าสินไหมทดแทน
ค่าเช่า
ค่าเช่ารับล่วงหน้า
ค่าเบี้ยประกันชีวิต
ค่าเสื่อมราคา
ค่าใช้จ่าย
ค่าใช้จ่ายของกิจการ
ค่าใช้จ่ายทางภาษี
ค่าใช้จ่ายในการอบรม
งบการเงิน
งบการเงินส่วนบุคคล
จดทะเบียน
จดทะเบียนเพิ่มสาขา
จดภาษีมูลค่าเพิ่ม
จัดตั้งบริษัท
จ้างงานผู้สูงอายุ
จ้างที่ปรึกษาต่างประเทศ
จ้างเด็กจบใหม่
ช้อปดีมีคืน
ดอกเบี้ยค้างรับ
ตราประทับ
ทรัพย์สิน
ทั่วไป
ทำประกันให้พนักงาน
ธุรกรรม
ธุรกิจขนส่ง
บริจาค
บริษัท กับ กรรมการ
บัญชีและภาษี
บิลเงินสด
ประกัน keyman
ประกันCovid-19
ประกันสังคม
ประชุมบริษัท
ประเภทเช็ค
ผลขาดทุน
ผู้ถือหุ้น
ผู้ประกอบการ
พร้อมเพย์
พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ฟรีแลนซ์
ภ.ง.ด. 1ก
ภ.ง.ด.1 ก
ภ.ง.ด.54
ภ.พ.36
ภาษี
ภาษี e-Service
ภาษีDropship
ภาษีกองทุนตราสารหนี้
ภาษีกับการออกจากงาน
ภาษีการรับมรดก
ภาษีของแพทย์
ภาษีขาย
ภาษีซื้อ
ภาษีซื้อต้องห้าม
ภาษีดอกเบีี้ย
ภาษีที่ดิน
ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง
ภาษีธุรกิจเฉพาะ
ภาษีนำเข้าสินค้า
ภาษีป้าย
ภาษีฟรีแลนซ์
ภาษีมูลค่าเพิ่ม
ภาษีรถยนต์
ภาษีหัก ณ ที่จ่าย
ภาษีอากร
ภาษีอากรนำเข้า
ภาษีอีเพย์เมนต์
ภาษีเงินปันผล
ภาษีเงินได้จากการรับให้
ภาษีเงินได้นิติบุคคล
ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย
ภาษีโรงแรม
มาตรการผู้กู้ยืม กยศ.
มูลค่าต้นทุน
ย้ายกิจการ
ยื่นแบบ
ยื่นแบบอย่างไรให้ประหยัดค่าปรับที่สุด
รถยนต์นั่ง
รถแลกเงิน
ระบบรับชำระเงินอิเล็กทรอนิกส์
ร้านกาแฟ-เสียภาษี
รายจ่ายค่าซ่อมแซม
รายจ่ายจริง
รายจ่ายต้องห้าม
รายได้อื่น
ลดหย่อนทางภาษี
ลดหย่อนภาษี
ลาออกจากงาน
วงจรเงินสด
วางระบบบัญชี
วางแผนภาษี
ศุลกากร
ส่งสินค้าทางไปรษณีย์
ส่งเสริมการขาย
สต็อกสินค้า
สรุปประเด็นภาษี
ส่วนลดกาาค้าและส่วนลดเงินสด
สวัสดิการพนักงาน
สวัสดิการอาหารพนักงาน
สัญญาขายฝาก
สัญญาซื้อ
สัญญาฝากทรัพย์
สัญญายินยอม
สัญญาเช่า
สัญญาเช่าที่ดิน
สำนักงานบัญชี
สิทธิประโยชน์ทางภาษี
หนี้สิน
อั่งเปา
อากรแสตมป์
เกษตรกับวิธีเสียภาษี
เครื่องบันทึกการเก็บเงิน
เคลมภาษีซื้อ ค่าอบรม
เงินกู้ยืมกรรมการ
เงินค่าฝึกอบรม
เงินชดใช้ค่าเสียหาย
เงินทดรองจ่าย
เงินบำนาญชราภาพ
เงินบำเหน็จ
เงินปันผล
เงินมัดจำ
เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด
เงินสมทบประกันสังคม
เงินสำรองจ่าย
เงินเรียกเก็บล่วงหน้าจากการขายสินค้า
เงินได้พนักงาน
เงินได้พึงประเมิน
เช่าซื้อ-ลิสซิ่ง
เบี้ยประกัน
เบี้ยปรับ
เปิดบริษัท
เราเที่ยวด้วยกัน
เลขประจำตัวผู้เสียอากร
เลิกทำธุรกิจ
เสน่หากับภาษ๊
เอกสารการเบิกจ่ายเงิน
เอกสารทางภาษี
เอกสารบัญชี
แจกไฟล์
แรงงานต่างด้าว
โครงการคนละครึ่ง
โทษปรับ
ใบกำกับภาษี
ใบกำกับภาษีอย่างย่อ
ใบลดหนี้
ใบลดหนี้และใบเพิ่มหนี้
ใบสำคัญจ่าย
ใบหุ้น
ใบเสนอราคา
ใบเสร็จรับเงิน