ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย

บทความล่าสุด

Voucher

Voucher กับการเสียภาษี

หลายกิจการมีการส่งเสริมการขายโดยการให้ Voucher แก่ลูกค้าเพื่อนำมาใช้เป็นส่วนลดในการซื้อสินค้าหรือบริการ ในโพสนี้จะมาพูดเกี่ยวกับประเด็นภาษีที่เกี่ยวกับ Voucher ซึ่งจะแบ่งออกเป็น 2 กรณีดังนี้ 1.แจก Voucher เพื่อให้ลูกค้านำกลับมาเป็นคูปองส่วนลดในการซื้อครั้งต่อไป 2.บริษัทขาย Voucher ให้กับลูกค้า เพื่อนำมาซื้อของ

by KKN การบัญชี

ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย

จ่ายค่าบริการให้ Platform ต่างประเทศ ต้องยื่นภาษีอะไรบ้าง ?

ปัจจุบันนี้กิจการต่างๆ มีรายการจ่ายค่าบริการให้กับ Platform ต่างประเทศกันเป็นเรื่องปกติ ค่าบริการหลักๆที่พบจะมีด้วยกัน 2 ค่าบริการได้แก่ ➊ ค่าโฆษณา ➋ ค่าสิทธิการใช้โปรแกรม ค่าโฆษณา เป็นเงินได้ 40 (8) นิติบุคคลที่จ่ายค่าบริการไม่มีหน้าที่ต้องหักภาษี ณ ที่จ่ายเพื่อนำส่งกรมสรรพากร ค่าสิทธิการใช้โปรแกรม เป็นเงินได้ 40(3) นิติบุคคลเมื่อจ่ายค่าสิทธิมีหน้าที่หักภาษี ณ ที่จ่ายเพื่อนำส่งกรมสรรพากรด้วยแบบ ภ.ง.ด.54 โดยอัตราหักภาษี ณ ที่จ่ายปกติจะอยู่ที่ 15% แต่อย่างไรก็ตามก่อนจ่ายเงินควรจะเช็คว่าผู้ให้บริการอยู่ในประเทศที่มีอนุสัญญาภาษีซ้อนกับไทยหรือไม่ เผื่อจะได้ลดอัตราหักภาษี ณ ที่จ่ายลง สำหรับในเรื่องของการยื่นแบบ ภ.พ.36 ถ้ามีบริการถูกใช้ในประเทศไทย กิจการที่จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มให้แจ้งขอมูล TAX ID กับ Platform ทาง Platform จะเรียกเก็บเฉพาะค่าบริการ (ไม่ได้เก็บภาษีมูลค่าเพิ่ม) กิจการมีหน้าที่ยื่นแบบ ภ.พ.36 จ่าย VAT 7% แทน Platform ต่างประเทศ และนำมาใช้เป็นภาษีซื้อได้ในเดือนถัดไป และสำหรับกิจการที่ไม่ได้จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม […]

by KKN การบัญชี

ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย

ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย ง่ายนิดเดียว

ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย คือ ภาษีที่ต้องจ่ายไปในทันทีเมื่อเรามีรายได้ โดยกรมสรรพากรกำหนดให้่นิติบุคคลผู้จ่ายเงินได้ เป็นผู้มีหน้าที่หักภาษี ณ ที่จ่าย และนำส่งภาษีที่หัก ณ ที่จ่ายให้กรมสรรพากร แทนผู้มีเงินได้ คำถามที่พบบ่อยคือ ถ้าผู้ให้บริการไม่ยอมทำให้หักภาษี ณ ที่จ่าย ทำอย่างไร? ตอบ : ถ้าผู้จ่ายเงินได้ไม่สามารถหักภาษี ณ ที่จ่ายได้ ก็ต้องควักเงินจ่ายเอง สำหรับเรื่องหักภาษี ณ ที่จ่ายกี่ % นำส่งด้วยแบบอะไร โพสนี้มีเคล็ดลับในการช่วยจำครับไปดูกันได้เลยครับ

by KKN การบัญชี

ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย

บริษัทจ้างร้านถ่ายเอกสารอย่าลืมหัก ณ ที่จ่ายด้วย

การจ่ายค่าถ่ายเอกสารถือเป็นการจ่ายค่าบริการ ถ้ายอดค่าบริการตั้งแต่ 1,000 บาทขึ้นไปอย่าลืมหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่ายทุกครั้งที่จ่ายค่าบริการด้วย ถ้าค่าบริการ 1,300 บาท แล้วไม่อยากหักภาษี ณ ที่จ่ายเพราะวุ่นวายเราจะทำอย่างไรดีนะ ? ถ่ายเอกสารไป 900 บาทแล้วบอกให้ร้านถ่ายเอกสารคิดเงินและออกใบเสร็จค่าถ่ายเอกสารก่อนรอบหนึ่ง จากนั้นถ่ายเอกสารอีก 300 บาท แล้วให้ร้านถ่ายเอกสารออกใบเสร็จอีกรอบหนึ่ง ค่าบริการต่อครั้งไม่ถึง 1,000 บาทไม่ต้องหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย กรณีเป็นสัญญาบริการต่อเนื่องเช่น Internet แม้ว่าต่อเดือนจะไม่ถึง 1,000 บาท แต่ถ้ารวมกันตลอดสัญญาแล้วถึง 1,000 บาทจะต้องหักภาษี ณ ที่จ่ายครับ.กรณีถ่ายเอกสารเราไม่มีการทำสัญญากับร้านถ่ายเอกสารค่าจ่ายค่าบริการต่อครั้งไม่ถึง 1,000 บาทไม่ต้องหักภาษี ณ ที่จ่ายครับ การจ้างร้านถ่ายเอกสารเดิมทุกครั้งก็ไม่ถือเป็นการทำสัญญาบริการครับ

by KKN การบัญชี

50 ทวิ
Bitcoin
DBD Registered
e-filing
LTF
SME
SMEs
TFRS16
Uncategorized
Voucher
กท.20 ก
กรมสรรพากร
กองทุนรวม
ก่อสร้างอาคารบนที่ดินของกรรมการ
การขอรับบริจาค
การจัดสรรกำไรสะสม
การตัดหนี้สูญ
การบริจาค
การบันทึกบัญชีเงินสดรับ-จ่าย
การประมาณการกำไรสุทธิขาดไป
การลงทุน
การลงประกาศหนังสือพิมพ์
การลดหย่อนบริจาคทั่วไป
การเช่า
กิจการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
กิจการร่วมค้า และกิจการค้าร่วม
กิจการเพื่อสังคม
กิจการโรงแรม
ขนส่ง
ขอคืนเงินประกันไฟฟ้า
ขายกิจการ
ขายสินค้าต่ำกว่าทุน
ขายสินค้าส่งออกไปต่างประเทศ
ขายหนังสือแถมคอร์สเรียนออนไลน์
คริปโทเคอร์เรนซี
ความเสี่ยง-ภาษีเงินได้นิติบุคคล
ความเสี่ยงของกิจการ
ค่าขนส่ง
ค้าขายออนไลน์
ค่าตรวจสุขภาพ
ค่าปรับ
ค่ารักษาพยาบาล
ค่ารับรอง
ค่าสินไหมทดแทน
ค่าเช่า
ค่าเช่ารับล่วงหน้า
ค่าเบี้ยประกันชีวิต
ค่าเสื่อมราคา
ค่าใช้จ่าย
ค่าใช้จ่ายของกิจการ
ค่าใช้จ่ายทางภาษี
ค่าใช้จ่ายในการอบรม
งบการเงิน
งบการเงินส่วนบุคคล
จดทะเบียน
จดทะเบียนเพิ่มสาขา
จดภาษีมูลค่าเพิ่ม
จัดตั้งบริษัท
จ้างงานผู้สูงอายุ
จ้างที่ปรึกษาต่างประเทศ
จ้างเด็กจบใหม่
ช้อปดีมีคืน
ดอกเบี้ยค้างรับ
ตราประทับ
ทรัพย์สิน
ทั่วไป
ทำประกันให้พนักงาน
ธุรกรรม
ธุรกิจขนส่ง
บริจาค
บริษัท กับ กรรมการ
บัญชีและภาษี
บิลเงินสด
ประกัน keyman
ประกันCovid-19
ประกันสังคม
ประชุมบริษัท
ประเภทเช็ค
ผลขาดทุน
ผู้ถือหุ้น
ผู้ประกอบการ
พร้อมเพย์
พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ฟรีแลนซ์
ภ.ง.ด. 1ก
ภ.ง.ด.1 ก
ภ.ง.ด.54
ภ.พ.36
ภาษี
ภาษี e-Service
ภาษีDropship
ภาษีกองทุนตราสารหนี้
ภาษีกับการออกจากงาน
ภาษีการรับมรดก
ภาษีของแพทย์
ภาษีขาย
ภาษีซื้อ
ภาษีซื้อต้องห้าม
ภาษีดอกเบีี้ย
ภาษีที่ดิน
ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง
ภาษีธุรกิจเฉพาะ
ภาษีนำเข้าสินค้า
ภาษีป้าย
ภาษีฟรีแลนซ์
ภาษีมูลค่าเพิ่ม
ภาษีรถยนต์
ภาษีหัก ณ ที่จ่าย
ภาษีอากร
ภาษีอากรนำเข้า
ภาษีอีเพย์เมนต์
ภาษีเงินปันผล
ภาษีเงินได้จากการรับให้
ภาษีเงินได้นิติบุคคล
ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย
ภาษีโรงแรม
มาตรการผู้กู้ยืม กยศ.
มูลค่าต้นทุน
ย้ายกิจการ
ยื่นแบบ
ยื่นแบบอย่างไรให้ประหยัดค่าปรับที่สุด
รถยนต์นั่ง
รถแลกเงิน
ระบบรับชำระเงินอิเล็กทรอนิกส์
ร้านกาแฟ-เสียภาษี
รายจ่ายค่าซ่อมแซม
รายจ่ายจริง
รายจ่ายต้องห้าม
รายได้อื่น
ลดหย่อนทางภาษี
ลดหย่อนภาษี
ลาออกจากงาน
วงจรเงินสด
วางระบบบัญชี
วางแผนภาษี
ศุลกากร
ส่งสินค้าทางไปรษณีย์
ส่งเสริมการขาย
สต็อกสินค้า
สรุปประเด็นภาษี
ส่วนลดกาาค้าและส่วนลดเงินสด
สวัสดิการพนักงาน
สวัสดิการอาหารพนักงาน
สัญญาขายฝาก
สัญญาซื้อ
สัญญาฝากทรัพย์
สัญญายินยอม
สัญญาเช่า
สัญญาเช่าที่ดิน
สำนักงานบัญชี
สิทธิประโยชน์ทางภาษี
หนี้สิน
อั่งเปา
อากรแสตมป์
เกษตรกับวิธีเสียภาษี
เครื่องบันทึกการเก็บเงิน
เคลมภาษีซื้อ ค่าอบรม
เงินกู้ยืมกรรมการ
เงินค่าฝึกอบรม
เงินชดใช้ค่าเสียหาย
เงินทดรองจ่าย
เงินบำนาญชราภาพ
เงินบำเหน็จ
เงินปันผล
เงินมัดจำ
เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด
เงินสมทบประกันสังคม
เงินสำรองจ่าย
เงินเรียกเก็บล่วงหน้าจากการขายสินค้า
เงินได้พนักงาน
เงินได้พึงประเมิน
เช่าซื้อ-ลิสซิ่ง
เบี้ยประกัน
เบี้ยปรับ
เปิดบริษัท
เราเที่ยวด้วยกัน
เลขประจำตัวผู้เสียอากร
เลิกทำธุรกิจ
เสน่หากับภาษ๊
เอกสารการเบิกจ่ายเงิน
เอกสารทางภาษี
เอกสารบัญชี
แจกไฟล์
แรงงานต่างด้าว
โครงการคนละครึ่ง
โทษปรับ
ใบกำกับภาษี
ใบกำกับภาษีอย่างย่อ
ใบลดหนี้
ใบลดหนี้และใบเพิ่มหนี้
ใบสำคัญจ่าย
ใบหุ้น
ใบเสนอราคา
ใบเสร็จรับเงิน