ค่าใช้จ่ายของกิจการ

บทความล่าสุด

ค่าใช้จ่ายของกิจการ

รายได้ 5 ล้าน (กำไร 20%) บุคคลกับบริษัทใครเสียเงินมากกว่ากัน

สมมุติฐานเพิ่มเติมให้สะท้อนความเป็นจริงมากที่สุด 1.บริษัทเป็น SME 2.บุคคลเลือกเสียแบบหักค่าใช้จ่ายตามจริง 3.รายได้ 5 ล้าน (กำไร 20%) รายได้หลังหักค่าใช้จ่าย = 1,000,000 บาท 4.บริษัทมีค่าใช้จ่ายทำบัญชี + ตรวจสอบบัญชี = 30,000 บาทต่อปี หมายเหตุ : บริษัทมีผลกำไรถ้าเจ้าของอยากจะนำเงินออกมาใช้จะต้องเสียภาษีเงินปันผลอีก 10% ของเงินปันผลที่จ่าย

by KKN การบัญชี

ค่าใช้จ่ายของกิจการ

ซื้ออาคารพาณิชย์นำมาเป็นค่าใช้จ่ายบริษัทได้หรือไม่

ทันทีที่เราซื้ออาคารพาณิชย์จะยังไม่ใช่ค่าใช้จ่ายของบริษัท เนื่องจากประโยชน์การใช้งานของอาคารไม่ได้หมดทันทีที่เราจ่ายเงินซื้อ เพราะอายุของการใช้ประโยชน์อาคารมันหลายปีมากๆ ดังนั้นนักบัญชีจะบันทึกอาคารเป็นทรัพย์สินย์เอาไว้ก่อน และจะทยอยรับรู้ค่าใช้จ่ายในรูปแบบของค่าเสื่อมราคาตามอายุการใช้งานของทรัพย์สิน ตัวอย่างการคำนวณค่าเสื่อมราคา มูลค่าอาคาร 2 ล้านบาท อายุการใช้งาน 20 ปี ค่าเสื่อมราคาต่อปี (2,000,000/20) = 1 แสนบาท ถ้าซื้อตึกตั้งแต่ต้นปีกำไรที่นำไปคำนวนภาษีก็คือ 6 ล้านบาท – ค่าเสื่อมราคา 1 แสนบาท

by KKN การบัญชี

ค่าใช้จ่ายของกิจการ

บริษัทจ่ายค่าโฆษณาให้ Facebook Google เอามาเป็นค่าใช้จ่ายบริษัทได้มั้ย

ภาษีเงินได้นิติบุคคล ค่าโฆษณาที่จ่ายให้ FB และ Google เกี่ยวข้องกับกิจการ ดังนั้นค่าใช้จ่ายนี้สามารถนำมาใช้เป็นค่าใช้จ่ายทางภาษีได้ แน่นอน 100% ภาษีหัก ณ ที่จ่าย เงินได้ดังกล่าวถือเป็นเงินได้ 40(8) เมื่อนิติบุคคลจ่ายค่าบริการไม่มีหน้าที่จะต้องหักภาษี ณ ที่จ่าย ภาษีมูลค่าเพิ่ม การให้บริการดังกล่าว เข้าข่ายเป็นการให้บริการต่างประเทศ และได้มีการใช้บริการในประเทศไทย ดังนั้นบริษัทผู้จ่ายเงินมีหน้าที่นำส่งภาษีมูลค่าเพิ่มด้วยแบบ ภ.พ.36 ในอัตราร้อยละ 7  สรุป 1.ค่าโฆษณา FB และ Google เอามาเป็นค่าใช้จ่ายได้ 2.ไม่ต้องหักภาษี ณ ที่จ่าย 3.อย่าลืมให้บัญชียื่น ภพ.36 และสามารถเอามาเป็นภาษีซื้อในเดือนถัดไปได้

by KKN การบัญชี

ค่าใช้จ่ายของกิจการ

ใบเสร็จค่างวดผ่อนรถไม่ใช่ค่าใช้จ่ายของบริษัท

ก่อนอื่นเรามาทำความเข้าใจกันก่อนว่า บัญชีหนี้สิน คืออะไร หนี้สิน คือ ภาระผูกพันในปัจจุบันของกิจการที่ต้องจ่ายชำระคืนแก่บุคคลภายนอกในอนาคต ภาระผูกพันดังกล่าวเป็นผลของเหตุการณ์ในอดีตซึ่งการชำระภาระผูกพันนั้นคาดว่าจะส่งผลให้กิจการสูญเสียทรัพยากรที่มีประโยชน์เชิงเศรษฐกิจ สรุปง่าย : หนี้สินคือ ของๆคนอื่นที่เราเอามา เขามีสิทธิ์ที่จะทวงเรา และเราต้องคืนเขาไป ดังนั้นการจ่ายชำระหนี้ให้เจ้าหนี้ ที่เราเช่าซื้อรถยนต์มานั้นจึงไม่ถือเป็นรายจ่ายของบริษัทนั่นเอง และเนื่องจากรถยนต์ประโยชน์การใช้งานไม่ได้หมดไปทันทีเมื่อจ่ายเงินซื้อ เพราะรถยนต์มีอายุการใช้งานที่นาน บริษัทจะบันทึกรถยนต์เป็นสินทรัพย์ และทยอยรับรู้ค่าใช้จ่ายในรูปแบบของค่าเสื่อมราคา

by KKN การบัญชี

ค่าใช้จ่ายของกิจการ

พนักงานยักยอกทรัพย์นำมาเป็นค่าใช้จ่ายได้หรือไม่

ผลเสียหายที่เกิดขึ้น สามารถนำมาเป็นค่าใช้จ่ายทางภาษีได้โดยให้พิจารณาเพิ่มดังนี้

by KKN การบัญชี

ค่าใช้จ่ายของกิจการ

ค่าน้ำมันสำหรับรถยนต์ที่ไม่ใช่ในนามกิจการ นำมาเป็นค่าใช้จ่ายได้หรือไม่!

สรรพากรบอกว่า ค่าน้ำมันรถยนต์ซึ่งไม่ใช่รถยนต์ของบริษัท ไม่สามารถนำมาหักเป็นรายจ่ายในการคำนวนกำไรสุทธิได้ เว้นแต่พิสูจน์ได้ว่าเป็นการนำรถยนต์มาใช้ในการปฏิบัติงานเพื่อกิจการ มีหลักฐานการใช้รถยนต์ซึ่งสามารถพิสูจน์จนเป็นที่เชื่อถือแก่เจ้าพนักงาน เช่น ระเบียบอนุญาตในการเบิกจ่าย มีหนังสืออนุญาตพร้อมบันทึกอนุญาตให้เดินทางไปติดต่องานเรื่องใด จาดที่ใดถึงที่ใด ระยะเวลาเท่าใด ทะเบียนรถยนต์ บิลค่าน้ำมัน สรุปคือ สามารถนำมาเป็นรายจ่ายในการคำนวณกำไรสุทธิได้นะครับแต่ต้องพิสูจน์ให้ได้ว่าใช้ในกิจการจริง!

by KKN การบัญชี

ค่าใช้จ่ายของกิจการ

ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นก่อนจดทะเบียนบริษัท สามารถนำมาเป็นค่าใช้จ่ายทางภาษีได้หรือไม่

ตอนที่เราจดทะเบียนบริษัท ในเอกสารรายงานการประชุมจะมีข้อที่ 3 ให้ที่ประชุมอนุมัติรายการค่าใช้จ่ายที่จำเป็นใจการตั้งบริษัท ที่ผู้ริเริ่มได้จ่ายเงินส่วนตัวออกไปก่อน แสดงว่ากฏหมายเปิดช่องให้สามารถสามารถนำค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นก่อนจดทะเบียนบริษัทมาเป็นค่าใช้จ่ายของบริษัทในการตั้งบริษัท สรรพากร: หากที่ประชุมผู้ถือหุ้นมีมติเป็นเอกฉันท์อนุมัติให้ถือเป็นรายจ่ายในการดำเนินกิจการ บริษัท ก็สามารถนำมาบันทึกเป็นรายจ่ายในการดำเนินกิจการได้เช่นเดียวกับรายจ่ายที่เกิดขึ้นนับแต่วันที่ได้จดทะเบียนจัดตั้งเป็นบริษัท โดยจะต้องพิจารณาตามเกณฑ์ 65ทวิ และ 65ตรี โดยสรุปง่ายดังนี้ เป็นค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานของกิจการ เป็นรายจ่ายที่จ่ายไปโดยมีเหตุผลความจำเป็นที่ต้องจ่ายรายการรายจ่ายนั้น สามารถพิสูจน์ได้ว่าผู้รับเงินคือใคร เป็นรายจ่ายที่มีการจ่ายเงินไปจริง

by KKN การบัญชี

ค่าใช้จ่ายของกิจการ

ค่าเดินทาง,ค่าเบี้ยเลี้ยงเหมาจ่ายไม่ต้องมีบิลมาเบิก ทำได้หรือไม่

กรณีที่บริษัท จ่ายค่าพาหนะเหมาจ่ายหรือค่าเบี้ยเลี้ยงเดินทางให้แก่พนักงานของบริษัท ไม่ถือเป็นเงินได้ของพนักงาน เมื่อเข้าลักษณะดังต่อไปนี้ 1. ต้องเป็นค่าพาหนะเหมาจ่ายหรือค่าเบี้ยเลี้ยงสำหรับการปฏิบัติงานเพื่อกิจการตามหน้าที่ของตนเองเท่านั้น 2. อัตราที่จ่ายจะต้องไม่เกินอัตราค่าสูงสุดที่ทางราชการกำหนดจ่ายให้แก่ข้าราชการ (ตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการในประเทศหรือต่างประเทศ) ถ้าไม่เกินอัตราค่าสูงสุดไม่จำเป็นต้องมีเอกสารมาเบิก 3. กรณีที่จ่ายเกินกว่าอัตราค่าสูงสุดที่ทางราชการกำหนด จะต้องมีเอกสารหลักฐานมาพิสูจน์ได้ว่ามีการจ่ายเงินไปจริง ถ้าไม่สามารถหาหลักฐานมาพิสูจน์ได้เฉพาะส่วนที่เกินจากอัตราค่าสูงสุดให้ถือเป็นเงินได้ของพนักงาน สำหรับกิจการควรจะต้องแบบฟอร์มควบคุมการเบิกจ่ายให้ครอบคลุมเรื่องดังต่อไปนี้ การอนุมัติให้พนักงานไปปฏิบัติงานนอกสถานที่ รายละเอียดลักษณะงานที่ทำ ระยะเวลาในการปฏิบัติงานตามหน้าที่ สรุป การจ่ายค่าน้ำมันและค่าเดินทางเหมาจ่ายทำได้ และไม่จำเป็นต้องมีบิลค่าใช้จ่ายมาเบิก ถ้ากำหนดอัตราไม่เกินอัตราค่าสูงสุดที่ทางราชการกำหนด บริษัทควรมีแบบฟอร์มและเกณฑ์ในการเบิดค่าใช้จ่ายดังกล่าว

by KKN การบัญชี

50 ทวิ
Bitcoin
DBD Registered
e-filing
LTF
SME
SMEs
TFRS16
Uncategorized
Voucher
กท.20 ก
กรมสรรพากร
กองทุนรวม
ก่อสร้างอาคารบนที่ดินของกรรมการ
การขอรับบริจาค
การจัดสรรกำไรสะสม
การตัดหนี้สูญ
การบริจาค
การบันทึกบัญชีเงินสดรับ-จ่าย
การประมาณการกำไรสุทธิขาดไป
การลงทุน
การลงประกาศหนังสือพิมพ์
การลดหย่อนบริจาคทั่วไป
การเช่า
กิจการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
กิจการร่วมค้า และกิจการค้าร่วม
กิจการเพื่อสังคม
กิจการโรงแรม
ขนส่ง
ขอคืนเงินประกันไฟฟ้า
ขายกิจการ
ขายสินค้าต่ำกว่าทุน
ขายสินค้าส่งออกไปต่างประเทศ
ขายหนังสือแถมคอร์สเรียนออนไลน์
คริปโทเคอร์เรนซี
ความเสี่ยง-ภาษีเงินได้นิติบุคคล
ความเสี่ยงของกิจการ
ค่าขนส่ง
ค้าขายออนไลน์
ค่าตรวจสุขภาพ
ค่าปรับ
ค่ารักษาพยาบาล
ค่ารับรอง
ค่าสินไหมทดแทน
ค่าเช่า
ค่าเช่ารับล่วงหน้า
ค่าเบี้ยประกันชีวิต
ค่าเสื่อมราคา
ค่าใช้จ่าย
ค่าใช้จ่ายของกิจการ
ค่าใช้จ่ายทางภาษี
ค่าใช้จ่ายในการอบรม
งบการเงิน
งบการเงินส่วนบุคคล
จดทะเบียน
จดทะเบียนเพิ่มสาขา
จดภาษีมูลค่าเพิ่ม
จัดตั้งบริษัท
จ้างงานผู้สูงอายุ
จ้างที่ปรึกษาต่างประเทศ
จ้างเด็กจบใหม่
ช้อปดีมีคืน
ดอกเบี้ยค้างรับ
ตราประทับ
ทรัพย์สิน
ทั่วไป
ทำประกันให้พนักงาน
ธุรกรรม
ธุรกิจขนส่ง
บริจาค
บริษัท กับ กรรมการ
บัญชีและภาษี
บิลเงินสด
ประกัน keyman
ประกันCovid-19
ประกันสังคม
ประชุมบริษัท
ประเภทเช็ค
ผลขาดทุน
ผู้ถือหุ้น
ผู้ประกอบการ
พร้อมเพย์
พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ฟรีแลนซ์
ภ.ง.ด. 1ก
ภ.ง.ด.1 ก
ภ.ง.ด.54
ภ.พ.36
ภาษี
ภาษี e-Service
ภาษีDropship
ภาษีกองทุนตราสารหนี้
ภาษีกับการออกจากงาน
ภาษีการรับมรดก
ภาษีของแพทย์
ภาษีขาย
ภาษีซื้อ
ภาษีซื้อต้องห้าม
ภาษีดอกเบีี้ย
ภาษีที่ดิน
ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง
ภาษีธุรกิจเฉพาะ
ภาษีนำเข้าสินค้า
ภาษีป้าย
ภาษีฟรีแลนซ์
ภาษีมูลค่าเพิ่ม
ภาษีรถยนต์
ภาษีหัก ณ ที่จ่าย
ภาษีอากร
ภาษีอากรนำเข้า
ภาษีอีเพย์เมนต์
ภาษีเงินปันผล
ภาษีเงินได้จากการรับให้
ภาษีเงินได้นิติบุคคล
ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย
ภาษีโรงแรม
มาตรการผู้กู้ยืม กยศ.
มูลค่าต้นทุน
ย้ายกิจการ
ยื่นแบบ
ยื่นแบบอย่างไรให้ประหยัดค่าปรับที่สุด
รถยนต์นั่ง
รถแลกเงิน
ระบบรับชำระเงินอิเล็กทรอนิกส์
ร้านกาแฟ-เสียภาษี
รายจ่ายค่าซ่อมแซม
รายจ่ายจริง
รายจ่ายต้องห้าม
รายได้อื่น
ลดหย่อนทางภาษี
ลดหย่อนภาษี
ลาออกจากงาน
วงจรเงินสด
วางระบบบัญชี
วางแผนภาษี
ศุลกากร
ส่งสินค้าทางไปรษณีย์
ส่งเสริมการขาย
สต็อกสินค้า
สรุปประเด็นภาษี
ส่วนลดกาาค้าและส่วนลดเงินสด
สวัสดิการพนักงาน
สวัสดิการอาหารพนักงาน
สัญญาขายฝาก
สัญญาซื้อ
สัญญาฝากทรัพย์
สัญญายินยอม
สัญญาเช่า
สัญญาเช่าที่ดิน
สำนักงานบัญชี
สิทธิประโยชน์ทางภาษี
หนี้สิน
อั่งเปา
อากรแสตมป์
เกษตรกับวิธีเสียภาษี
เครื่องบันทึกการเก็บเงิน
เคลมภาษีซื้อ ค่าอบรม
เงินกู้ยืมกรรมการ
เงินค่าฝึกอบรม
เงินชดใช้ค่าเสียหาย
เงินทดรองจ่าย
เงินบำนาญชราภาพ
เงินบำเหน็จ
เงินปันผล
เงินมัดจำ
เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด
เงินสมทบประกันสังคม
เงินสำรองจ่าย
เงินเรียกเก็บล่วงหน้าจากการขายสินค้า
เงินได้พนักงาน
เงินได้พึงประเมิน
เช่าซื้อ-ลิสซิ่ง
เบี้ยประกัน
เบี้ยปรับ
เปิดบริษัท
เราเที่ยวด้วยกัน
เลขประจำตัวผู้เสียอากร
เลิกทำธุรกิจ
เสน่หากับภาษ๊
เอกสารการเบิกจ่ายเงิน
เอกสารทางภาษี
เอกสารบัญชี
แจกไฟล์
แรงงานต่างด้าว
โครงการคนละครึ่ง
โทษปรับ
ใบกำกับภาษี
ใบกำกับภาษีอย่างย่อ
ใบลดหนี้
ใบลดหนี้และใบเพิ่มหนี้
ใบสำคัญจ่าย
ใบหุ้น
ใบเสนอราคา
ใบเสร็จรับเงิน