บทความล่าสุด

ภาษีเงินได้นิติบุคคล

ลูกค้าแจกซองแต่งงาน บันทึกเป็นค่ารับรองได้หรือไม่?

ผู้ประกอบการหลายคนอาจมีข้อสงสัยว่า ในแต่ละเดือนต้องใส่เงินช่วยงานแต่งงาน งานศพจำนวนเยอะพอสมควร จะสามารถนำมาบันทึกเป็นค่ารับรองได้รึเปล่า? ก่อนที่เราจะนำมาบันทึกเป็นค่ารับรอง เราก็จะต้องกลับมาดูกันก่อนครับว่า การที่จะสามารถบันทึกค่ารับรองได้นั้น จะต้องมีเงื่อนไขอะไรบ้าง? เงื่อนไขของค่ารับรอง มีดังต่อไปนี้ เป็นค่ารับรองตามปกติธุริจทั่วไป และบุคคลที่ได้รับการรับรองไม่ใช่ลูกจ้างของกิจการ เว้นแต่ลูกจ้างมีหน้าที่เข้าร่วมการรับรองนั้น เป็นค่าใช้จ่ายต้องไม่เกินคนละ 2,000 บาทในแต่ละคราวที่มีการรับรอง เป็นการจ่ายเพื่ออำนวยประโยชน์ให้แก่กิจการ ค่ารับรองนั้นต้องมีผู้มีอำนาจอนุมัติสั่งจ่ายค่ารับรอง และมีหลักฐานการจ่ายประกอบ เช่นใบเสร็จรับเงิน จะเห็นว่าไม่ว่าลูกค้าจะแจกซองแต่งงาน ซองผ้าป่า หรือซองงานบวชใส่ซองไปก็ไม่สามารถบันทึกเป็นค่ารับรองได้ เพราะไม่อยู่ในเงื่อนไขนะครับ แถมอีกหนึ่งตัวอย่างที่ไม่สามารถนำมาบันทึกเป็นค่ารับรองได้ก็คือ กรณีที่ลูกค้าขอเงินสนับสนุนของรางวัล ก็ไม่สามารถบันทึกเป็นค่ารับรองได้ เพราะไม่อยู่ในเงื่อนไขเช่นกันครับครับ ก็สรุปได้ว่าการที่จะบันทึกเป็นค่าใช้จ่ายอะไรนั้น เราก็จะต้องย้อนหลับไปดูเงื่อนไขแต่ละอย่างว่ามีเงื่อนไขอะไรบ้าง เพื่อที่เราจะได้บันทึกข้อมูลได้อย่างถูกต้องนั่นเองครับ

by KKN การบัญชี

ภาษีเงินได้นิติบุคคล

ขายของไม่ออก “ใบเสร็จรับเงิน” มีความผิดระวังโทษปรับและจำคุก

ปัญหาที่ผู้ประกอบการทุกคนเจอกันแทบทุกคนก็คือจ่ายเงินซื้อสินค้าหรือบริการไปแล้ว แต่ผู้รับเงินไม่ออกใบเสร็จรับเงินหรือเอกสารอื่นให้เลย ทำให้ผู้ประกอบการทุกคนเจอปัญหาคือเสียภาษีมากกว่าความเป็นจริง เพราะไม่มีเอกสารไปบันทึกบัญชี ผมจึงได้นำเรื่องนี้มาสรุปให้ทุกคนเข้าใจกันได้ง่ายขึ้นครับ เรามาเริ่มจากการทำความรู้จักกับ ใบรับ กันก่อนว่าคืออะไร? ใบรับหรือใบเสร็จรับเงิน เป็นเอกสารหรือหลักฐานที่ช่วยให้เรา ในฐานะ ผู้รับเงิน ผู้ขาย หรือ ผู้ให้เช่าซื้อ สามารถยืนยันกับผู้จ่ายเงิน ผู้ซื้อ หรือ ผู้เช่าซื้อ ได้ว่าเราได้รับเงินเรียบร้อยแล้วนั่นเองครับ โดยสาระสำคัญของใบรับที่จะต้องมีดังต่อไปนี้ เลขประจำตัวผู้เสียภาษีอากรของผู้ออกใบรับ ชื่อหรือยี่ห้อของผู้ออกใบรับ เลขลำดับของเล่มและของใบรับ วัน เดือน ปี ที่ออกใบรับ จำนวนเงินที่รับ ชนิด ชื่อ จำนวนและราคาสินค้า ในกรณีการขายหรือให้เช่าซื้อสินค้าเฉพาะชนิดที่มีราคาตั้งแต่ หนึ่งร้อยบาทขึ้นไป และหลายคนอาจจะสงสัยว่า บิลเงินสดที่ขายตามโลตัส บิ๊กซี หรือร้านขายเครื่องต่าง ๆ เนี่ย จะสามารถใช้แทนใบรับได้หรือไม่ ซึ่งบิลเงินสด สามารถใช้แทนใบรับได้ครับ เพียงแต่ต้องเพิ่มข้อมูลหมายเลขประจำตัวผู้เสียภาษีของผู้ขาย สำหรับบุคคลธรรมดานั้น หมายเลขบัตรประชาชน = หมายเลขประจำตัวผู้เสียภาษี ครับ รู้หรือไม่ ไม่ว่าคุณจะทำธุรกิจใจรูปแบบ บุคคลธรรมดา หรือ นิติบุคคล เมื่อลูกค้าจ่ายชำระเงินคุณมีหน้าที่ต้องออกเอกสาร […]

by KKN การบัญชี

ภาษีมูลค่าเพิ่ม

ขายรถยนต์ส่วนตัว เสียภาษีมั้ย?

สมมติตัวอย่างดังนี้ครับ นาย A ขายรถยนต์ส่วนตัวคันเก่าที่ตนเองใช้อยู่ปัจจุบันออกไป เพราะต้องการจะเปลี่ยนรถยนต์ใหม่มั้ย จะคำนวนภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาตอนสิ้นปีอย่างไรและรายได้จากการขายรถยนต์หักค่าใช้จ่ายอย่างไร? ภาษีเงินได้บุคคลธรมดา สำหรับภาษีเงินได้บุคคลธรรมดานั้นคำตอบก็คือ “นายA ไม่ต้องเอาเงินที่ได้จากการขายมารวมคำนวณเพื่อเสียภาษีเงินบุคคลธรรมดา” เพราะเนื่องจากการขายทรัพย์สินสิ่งของใช้ส่วนตัว เป็นการขายสังหาริมทรัพย์ที่ได้มาโดยไม่ได้มุ่งในทางการค้าหรือหากำไร จึงได้รับการยกเว้นไม่ต้องนำมารวมคำนวณเพื่อเสียภาษีเงินได้ (ตามมาตรา 42(9) แห่งประมวลรัษฎากร) แต่!!! ถ้าเป็นการขายโดยมุ่งในทางการค้าหรือหากำไร เงินที่ได้ขายจะเข้าลักษณะเป็นเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40(8) ต้องนำเงินได้ดังกล่าวมารวมคำนวณเพื่อเสียภาษีเงินได้ครับ (โดยมีสิทธิเลือกหักค่าใช้จ่ายได้ตามความจำเป็นและสมควร หรือหักค่าใช้จ่ายเป็นการเหมาในอัตราร้อยละ 60)  ภาษีมูลค่าเพิ่ม คำตอบก็คือ “ถึงแม้นาย A จะขายเกิน 1.8 ล้าน แต่นาย A ไม่ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม” ก็เพราะว่าบุคคลธรรมดา ขายสินค้าที่เป็นทรัพย์สินสิ่งของใช้ส่วนตัว ถ้าการขายสินค้าดังกล่าวไม่ได้ทำในเชิงธุรกิจหรือวิชาชีพ ก็ไม่ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม อากรแสตมป์ คำตอบก็คือ “การที่นาย A ขายรถยนต์ส่วนตัวต้องเสียอากรแสตมป์ในอัตรา 1 บาท/วงเงิน 200 บาท” ซึ่งหากเราดูจากบัญชีอัตราอากรแสตมป์แล้วการขายอสังหาริมทรัพย์นั้นจะต้องเสียอากรแสตมป์ในอัตรา 1 บาท/วงเงิน 200 บาท โดยมีวิธีการคำนวณดังนี้ครับ การขายรถยนต์   จะต้องเสียอากร […]

by KKN การบัญชี

ภาษีมูลค่าเพิ่ม

ใบลดหนี้ออกได้กรณีไหนบ้าง?

ตอนไหนถึงจะออกใบลดหนี้ ? การที่จะออกใบลดหนี้ได้นั้น ต้องเกิดการที่ผู้ประกอบการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม ได้มีการขายสินค้าหรือได้ให้บริการ และมีการออกใบกำกับภาษีให้กับลูกค้า ซึ่งภายหลังที่มีการออกใบกำกับภาษีนั้น มีเหตุการณ์ที่ทำให้ภาษีขายที่คำนวณจากมูลค่าของสินค้าหรือบริการมีจำนวนลดลงไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วนนั่นเองครับ เหตุการณ์อย่างหนึ่งอย่างใดดังต่อไปนี้ ผู้ประกอบการสามารถออก “ใบลดหนี้” มีการลดราคาสินค้าที่ขายเนื่องจากสินค้าผิดข้อกำหนดที่ตกลงกัน สินค้าชำรุดเสียหาย หรือขาดจำนวน คำนวณราคาสินค้าผิดพลาดสูงกว่าที่เป็นจริง มีการลดราคาค่าบริการเนื่องจากให้บริการผิดข้อกำหนดที่ตกลงกัน บริการขาดจำนวน คำนวณราคาค่าบริการผิดพลาดสูงกว่าที่เป็นจริง หรือเนื่องจากเหตุอื่นตามที่อธิบดีกรมสรรพากรกำหนด ได้รับสินค้าที่ขายกลับคืนมาเนื่องจากสินค้าชำรุดบกพร่อง ไม่ตรงตามตัวอย่าง ไม่ตรงตามคำโฆษณา ต้องจ่ายเงินชดเชยหรือเงินอื่นในลักษณะทำนองเดียวกันให้แก่ผู้ซื้อสินค้าหรือผู้รับบริการตามข้อผูกพันในกฎหมาย มีการจ่ายเงินชดเชยให้กับผู้ซื้อ, มีการจ่ายคืนเงินจ่ายล่วงหน้า/เงินประกัน/เงินมัดจำ ให้กับผู้ซื้อตามข้อตกลงทางการค้า มีการคืนสินค้าหรือแลกเปลี่ยนสินค้าตามข้อตกลงทางการค้าระหว่างผู้ประกอบการจดทะเบียนด้วยกัน มีการคืนสินค้าหรือแลกเปลี่ยนสินค้าตามข้อตกลงทางการค้าระหว่างผู้ประกอบการจดทะเบียนและผู้ซื้อสินค้า ทั้งนี้ เฉพาะที่กระทำภายในเวลาอันสมควร มีการบอกเลิกสัญญาบริการเนื่องจากการให้บริการบกพร่องหรือให้บริการผิดข้อกำหนดที่ตกลงกัน มีการบอกเลิกสัญญาบริการเนื่องจากไม่มีการให้บริการตามสัญญา ใบลดหนี้ต้องมีข้อความที่สำคัญอะไรบ้าง คำว่า “ใบลดหนี้” ในที่ที่เห็นได้เด่นชัด ชื่อ ที่อยู่ และเลขที่ประจำตัวผู้เสียภาษีอากรของผู้ประกอบการจดทะเบียนที่ออกใบลดหนี้ และในกรณีที่ตัวแทนเป็นผู้ออกใบลดหนี้ ในนามของผู้ประกอบการจดทะเบียนให้ระบุชื่อ ที่อยู่ และเลขประจำตัวผู้เสียภาษีอากรของตัวแทนนั้นด้วย ชื่อ ที่อยู่ ของผู้ซื้อสินค้าหรือผู้รับบริการ วัน เดือน ปี ที่ออกใบลดหนี้ หมายเลขลำดับของใบกำกับภาษีเดิม รวมทั้งหมายเลขลำดับของเล่ม (ถ้ามี) มูลค่าของสินค้าหรือบริการที่แสดงไว้ในใบกำกับภาษีดังกล่าว มูลค่าที่ถูกต้องของสินค้าหรือบริการ […]

by KKN การบัญชี

ประกันสังคม

โดนปลดฟ้าผ่า!! ได้เงินชดเชยอะไรบ้าง?

สิทธิรับเงินชดเชยเมื่อถูกเลิกจ้าง กฎหมายแรงงานระบุให้ นายจ้างจ่าย “เงินชดเชย” ถ้าเลิกจ้าง และลูกจ้างไม่มีความผิด โดยจะได้รับค่าชดเชยนั้นจะขึ้นอยู่กับอายุงานของลูกจ้างดังนี้ ทำงานครบ 0 วัน 120 วัน 1 ปี 3 ปี 6 ปี 10 ปี 20 ปีขั้นไป แต่ไม่ถึง 120 วัน 1 ปี 3 ปี 6 ปี 10 ปี 20 ปี ได้รับค่าชดเชย ไม่มีสิทธิ์ได้รับ เท่ากับค่าจ้าง 30 วัน เท่ากับค่าจ้าง 90 วัน เท่ากับค่าจ้าง 180 วัน เท่ากับค่าจ้าง 240 วัน เท่ากับค่าจ้าง 300 วัน เท่ากับค่าจ้าง 400 วัน […]

by KKN การบัญชี

ประกันสังคม

บำนาญชราภาพ

 “เงินบำนาญชราภาพ” คือ เงินที่สำนักงานประกันสังคมจ่ายให้ผู้ประกันตนเป็นรายเดือนตลอดชีวิต “ผู้ประกันตน” คือ ลูกจ้างที่มีอายุไม่ต่ำกว่า 15 ปีบริบูรณ์และไม่เกิน 60 ปีบริบูรณ์ ลูกจ้างอายุครบ 60 ปีบริบูรณ์แต่นายจ้างยังจ้างให้ทำงานต่อให้ถือเป็นผู้ประกันตนต่อไป เงื่อนไขที่ผู้ประะกันจะได้รับเงินบำนาญชราภาพ คือ มีอายุครบ 55 ปีบริบูรณ์ จ่ายเงินสมทบครบ 180 เดือน ความเป็นผู้ประกันตนสิ้นสุดลง หรือไม่กรณีที่ มีอายุไม่ครบ 55 ปีบริบูรณ์ เมื่อมีคำวินิจฉัยให้เป็น “ผู้ทุพพลภาพ” เสียชีวิตก่อนอายุครบ 55 ปี อัตราการรับเงินบำนาญ นั้นจะขึ้นอยู่ว่าผู้ประกันตนนั้นเข้าเงื่อนไขใดครับ อายุครบ 55 ปี ส่งเงินสมทบ เท่ากับ 180 เดือน โดยจะได้รับอัตราร้อยละ 20 ของค่าจ้างเฉลี่ย 60 เดือนสุดท้าย แต่ถ้าหากส่งเงินสมทบ มากกว่า 180 เดือน จะได้รับการบวกเพิ่มให้อีกปีละ 1.5% 2. เสียชีวิตภายใน 60 เดือน(5ปี) […]

by KKN การบัญชี

ประกันสังคม

กรรมการมีสิทธิเข้าระบบประกันสังคมหรือไม่?

โดยปกติแล้วเมื่อยื่นเอกสารให้กับสำนักงานประกันสังคม สำนักงานประกันสังคมจะพิจารณาว่ากรรมการ หรือผู้ถือหุ้น เป็น “ลูกจ้าง” หรือเป็น “นายจ้าง” เรามาดูความหมายของ “ลูกจ้าง” หรือ “นายจ้าง” กันครับ “ลูกจ้าง” คือ เป็นคนที่ตกลงทำงานให้นายจ้างเพื่อรับค่าจ้าง ทำตามคำสั่งนายจ้าง ต้องปฏิบัติตามระเบียบ หรือ ข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงานของนายจ้าง ลูกจ้างฝ่าฝืนนายจ้างสามารถลงโทษได้ “นายจ้าง” โดยกรรมการที่จะไม่อยู่ในข่ายการเป็นลูกจ้าง คือ เป็นผู้เริ่มก่อการและก่อตั้งบริษัทมาตั้งแต่แรก หรือเป็นผู้ถือหุ้น ไม่ต้องทำตามคำสั่งใคร ไม่ต้องปฏิบัติตามระเบียบ หรือข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงาน มาตอนไหน ลาวันไหนก็ได้ มีอิสระ ทำงานให้กับบริษัท ดูแลรักษาผลประโยชน์ของบริษัท เป็นการทำด้วยจุดประสงค์เพื่อจะแบ่งปันกำไรที่ต้องได้เท่านั้น ซึ่งตามมาตรา 33 กล่าวว่า ในแต่ละเดือนนายจ้างต้องออกเงินประกันสังคมให้ 1 เท่า ของเงินที่ลูกจ้างถูกหักออก หรือก็คือ ลูกจ้างจะถูกหักจากเงินเดือน 5% + นายจ้างจ่ายสมทบ 5% + รัฐบาลร่วมจ่ายสมทบ 2.75% นั่นเองครับ ซึ่งหาก กรรมการบริษัท + ถือหุ้นบริษัทอย่างมีสาระสำคัญก็จะ […]

by KKN การบัญชี

50 ทวิ
Bitcoin
DBD Registered
e-filing
LTF
SME
SMEs
TFRS16
Uncategorized
Voucher
กท.20 ก
กรมสรรพากร
กองทุนรวม
ก่อสร้างอาคารบนที่ดินของกรรมการ
การขอรับบริจาค
การจัดสรรกำไรสะสม
การตัดหนี้สูญ
การบริจาค
การบันทึกบัญชีเงินสดรับ-จ่าย
การประมาณการกำไรสุทธิขาดไป
การลงทุน
การลงประกาศหนังสือพิมพ์
การลดหย่อนบริจาคทั่วไป
การเช่า
กิจการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
กิจการร่วมค้า และกิจการค้าร่วม
กิจการเพื่อสังคม
กิจการโรงแรม
ขนส่ง
ขอคืนเงินประกันไฟฟ้า
ขายกิจการ
ขายสินค้าต่ำกว่าทุน
ขายสินค้าส่งออกไปต่างประเทศ
ขายหนังสือแถมคอร์สเรียนออนไลน์
คริปโทเคอร์เรนซี
ความเสี่ยง-ภาษีเงินได้นิติบุคคล
ความเสี่ยงของกิจการ
ค่าขนส่ง
ค้าขายออนไลน์
ค่าตรวจสุขภาพ
ค่าปรับ
ค่ารักษาพยาบาล
ค่ารับรอง
ค่าสินไหมทดแทน
ค่าเช่า
ค่าเช่ารับล่วงหน้า
ค่าเบี้ยประกันชีวิต
ค่าเสื่อมราคา
ค่าใช้จ่าย
ค่าใช้จ่ายของกิจการ
ค่าใช้จ่ายทางภาษี
ค่าใช้จ่ายในการอบรม
งบการเงิน
งบการเงินส่วนบุคคล
จดทะเบียน
จดทะเบียนเพิ่มสาขา
จดภาษีมูลค่าเพิ่ม
จัดตั้งบริษัท
จ้างงานผู้สูงอายุ
จ้างที่ปรึกษาต่างประเทศ
จ้างเด็กจบใหม่
ช้อปดีมีคืน
ดอกเบี้ยค้างรับ
ตราประทับ
ทรัพย์สิน
ทั่วไป
ทำประกันให้พนักงาน
ธุรกรรม
ธุรกิจขนส่ง
บริจาค
บริษัท กับ กรรมการ
บัญชีและภาษี
บิลเงินสด
ประกัน keyman
ประกันCovid-19
ประกันสังคม
ประชุมบริษัท
ประเภทเช็ค
ผลขาดทุน
ผู้ถือหุ้น
ผู้ประกอบการ
พร้อมเพย์
พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ฟรีแลนซ์
ภ.ง.ด. 1ก
ภ.ง.ด.1 ก
ภ.ง.ด.54
ภ.พ.36
ภาษี
ภาษี e-Service
ภาษีDropship
ภาษีกองทุนตราสารหนี้
ภาษีกับการออกจากงาน
ภาษีการรับมรดก
ภาษีของแพทย์
ภาษีขาย
ภาษีซื้อ
ภาษีซื้อต้องห้าม
ภาษีดอกเบีี้ย
ภาษีที่ดิน
ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง
ภาษีธุรกิจเฉพาะ
ภาษีนำเข้าสินค้า
ภาษีป้าย
ภาษีฟรีแลนซ์
ภาษีมูลค่าเพิ่ม
ภาษีรถยนต์
ภาษีหัก ณ ที่จ่าย
ภาษีอากร
ภาษีอากรนำเข้า
ภาษีอีเพย์เมนต์
ภาษีเงินปันผล
ภาษีเงินได้จากการรับให้
ภาษีเงินได้นิติบุคคล
ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย
ภาษีโรงแรม
มาตรการผู้กู้ยืม กยศ.
มูลค่าต้นทุน
ย้ายกิจการ
ยื่นแบบ
ยื่นแบบอย่างไรให้ประหยัดค่าปรับที่สุด
รถยนต์นั่ง
รถแลกเงิน
ระบบรับชำระเงินอิเล็กทรอนิกส์
ร้านกาแฟ-เสียภาษี
รายจ่ายค่าซ่อมแซม
รายจ่ายจริง
รายจ่ายต้องห้าม
รายได้อื่น
ลดหย่อนทางภาษี
ลดหย่อนภาษี
ลาออกจากงาน
วงจรเงินสด
วางระบบบัญชี
วางแผนภาษี
ศุลกากร
ส่งสินค้าทางไปรษณีย์
ส่งเสริมการขาย
สต็อกสินค้า
สรุปประเด็นภาษี
ส่วนลดกาาค้าและส่วนลดเงินสด
สวัสดิการพนักงาน
สวัสดิการอาหารพนักงาน
สัญญาขายฝาก
สัญญาซื้อ
สัญญาฝากทรัพย์
สัญญายินยอม
สัญญาเช่า
สัญญาเช่าที่ดิน
สำนักงานบัญชี
สิทธิประโยชน์ทางภาษี
หนี้สิน
อั่งเปา
อากรแสตมป์
เกษตรกับวิธีเสียภาษี
เครื่องบันทึกการเก็บเงิน
เคลมภาษีซื้อ ค่าอบรม
เงินกู้ยืมกรรมการ
เงินค่าฝึกอบรม
เงินชดใช้ค่าเสียหาย
เงินทดรองจ่าย
เงินบำนาญชราภาพ
เงินบำเหน็จ
เงินปันผล
เงินมัดจำ
เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด
เงินสมทบประกันสังคม
เงินสำรองจ่าย
เงินเรียกเก็บล่วงหน้าจากการขายสินค้า
เงินได้พนักงาน
เงินได้พึงประเมิน
เช่าซื้อ-ลิสซิ่ง
เบี้ยประกัน
เบี้ยปรับ
เปิดบริษัท
เราเที่ยวด้วยกัน
เลขประจำตัวผู้เสียอากร
เลิกทำธุรกิจ
เสน่หากับภาษ๊
เอกสารการเบิกจ่ายเงิน
เอกสารทางภาษี
เอกสารบัญชี
แจกไฟล์
แรงงานต่างด้าว
โครงการคนละครึ่ง
โทษปรับ
ใบกำกับภาษี
ใบกำกับภาษีอย่างย่อ
ใบลดหนี้
ใบลดหนี้และใบเพิ่มหนี้
ใบสำคัญจ่าย
ใบหุ้น
ใบเสนอราคา
ใบเสร็จรับเงิน