Uncategorized

บทความล่าสุด

Uncategorized

ผลตอบแทนลงทุนคอนโดมันคำนวนยังไง

Passive income ยอดฮิตของยุคนี้หนีไม่ลงการซื้อคอนโดปล่อยเช่าแล้วเราจะรู้ได้ยังไงว่า ไอ้ที่เราซื้อมันเป็น Passive income หรือภาระ “เราแค่คำนวณผลตอบแทนจากการลงทุนให้อยู่ในหน่วย% ต่อปี ผลตอบแทน > ดอกเบี้ยเงินกู้ ควรลงทุน“ อัตราผลตอบแทน = (ประมาณค่าเช่าสุทธิทั้งปี / มูลค่าทรัพย์สินให้เช่า) x 100 ประมาณค่าเช่าสุทธิทั้งปี = ค่าเช่าทั้งปี – ค่าส่วนกลาง มูลค่าทรัพย์สินให้เช่า = ค่าคอนโด + ค่าโอน + เงินกองทุน + ค่าตกแต่ง * คิดแบบละเอียดยิบแล้วจะไม่ขาดทุน ตัวอย่าง: 1.คอนโดราคา 2,200,000 บาท ค่าโอน 50,000 บาท ค่าตกแต่ง 80,000 บาทค่ากองทุนแรกเข้า 16,000 บาท 2.คอนโดคาดว่าจะมีคนเช่า 12,000 บาทต่อเดือน ค่าส่วนกลางต่อปี 17,000 บาท อัตราผลตอบแทน […]

by KKN การบัญชี

Uncategorized

e-Withholding tax บอกเลยชีวิตดี๊ดี

สรุปขั้นตอนการทำงานของ e-Withholding tax e-Withholding Tax คือ การดำเนินการหักภาษี ณ ที่จ่ายและนำส่งผ่านช่องทางหรือเครือข่ายอิเล็กทรอนิกส์ของธนาคารผู้รับเงิน โดยกฎหมายจะกำหนดให้ผู้จ่ายเงินได้ประเภทที่ต้องหักภาษี ณ ที่จ่าย มีหน้าที่แจ้งธนาคารให้ทราบ ธนาคารในฐานะผู้ให้บริการรับชำระเงินจะมีหน้าที่เป็นตัวกลางในการรับเงินจำนวนดังกล่าว หักภาษีตามยอดที่แจ้ง และนำส่งเงินภาษีให้กับกรมสรรพากร ระบบ e-Withholding Tax เป็นระบบที่ออกมาเพื่อช่วยเหลือผู้ประกอบการอย่างแท้จริง จะดีแค่ไหนถ้ามีคนมาเขียนหนังสือรับรองการหักภาษี ณ ที่จ่ายแทนเรา รวมถึงยื่นนำส่งภาษีหัก ณ ที่จ่ายแทนเราอีก บอกเลยว่าชีวิตฟินมาก ถ้าบริษัทไหนไม่ได้จด VAT นี่แทบจะไม่ต้องจ้างสำนักงานบัญชีรายเดือนเลย ธนาคารเป็นตัวกลางช่วยส่งข้อมูลต่างๆให้ ส่วนผู้รับก็ไม่ต้องเก็บหนังสือรับรองหัก ณ ที่จ่าย เป็นกระดาษอีกต่อไป เนื่องจากจะสามารถตรวจสอบข้อมูลภาษีของตนได้ที่ Web Portal ของกรมสรรพากร การยื่นภาษีประจำปีก็จะง่ายขึ้นเยอะ e-Withholding tax มันดีต่อผู้ประกอบการอย่างไร ผู้ประกอบการไม่ต้องเขียนใบหักภาษี ณ ที่จ่าย มีตัวกลางยื่นภาษีหัก ณ ที่จ่ายแทนเรา บุคคลหรือนิติบุคคลสะดวกในการยื่นภาษีประจำปี เพราะไม่ต้องมานั่งเก็บเอกสารหนังสือรับรองการหักภาษี ณ ที่จ่าย (50ทวิ) อีกต่อไปเพราะกรมสรรพากรมีข้อมูลการหักภาษี ณ ที่จ่ายครบถ้วนอยู่แล้ว ประหยัดค่าใช้จ่ายและเวลาในการยื่นแบบภาษีเพราะมีคนอื่นทำแทนให้เราเสร็จเรียบร้อย

by KKN การบัญชี

Uncategorized

ใบกำกับภาษีเต็มรูปที่ถูกต้องเป็นอย่างไร

คำว่า “ใบกำกับภาษี” ในที่ที่เห็นได้เด่นชัด รายการคำว่า “ชื่อ ที่อยู่ และเลขประจำตัวผู้เสียภาษีอากรของผู้ประกอบการ จดทะเบียนที่ออกใบกำกับภาษี” รายการ “ชื่อ ที่อยู่ ของผู้ซื้อสินค้าหรือผู้รับบริการ” รายการ “หมายเลขลำดับของใบกำกับภาษี และหมายเลขของเล่ม ถ้ามี” รายการ “ชื่อ ชนิด ประเภท ปริมาณ และมูลค่าของสินค้าหรือของบริการ” รายการ “จำนวนภาษีมูลค่าเพิ่มที่คำนวณจากมูลค่าของสินค้าหรือของบริการ โดยให้แยกออกจากมูลค่าของสินค้าหรือของบริการให้ชัดแจ้ง” รายการ “วัน เดือน ปี ที่ออกใบกำกับภาษี” รายการอื่นตามที่อธิบดีกรมสรรพากรกำหนด (ไม่ได้บังคับทุกกิจการ)– คำว่า “เอกสารออกเป็นชุด”   (กรณีกิจการทำใบกำกับภาษีเต็มรูปรวมกับเอกสารทางการค้าอื่นเช่นใบส่งของ ใบแจ้งหนี้ และเอกสารมีหลายฉบับ)– สาขาที่ออกใบกำกับภาษีคือ…  (กรณีกิจการมีสาขาที่ออกใบกำกับภาษีหลายแห่ง)– มีเลขทะเบียนรถ  (กรณีผู้ออกเป็นปั้มน้ำมัน)

by KKN การบัญชี

Uncategorized

ภาษีหัก ณ ที่จ่ายอธิบายแบบง่ายๆ ได้ใจความ

ภาษีหัก ณ ที่จ่าย คืออะไรภาษีที่ต้องจ่ายไปในทันทีเมื่อเรามีรายได้ แต่นิติบุคคลผู้จ่ายเงินจะเป็นผู้หักภาษี ณ ที่จ่ายและนำส่งภาษีให้กรมสรรพากร แทนผู้มีเงินได้ (ผู้จ่ายเงินโครตซวยยย อยู่ดีๆมีภาระขึ้นมา) หลักจำจ่ายๆนิติบุคคลเมื่อจ่ายค่าบริการจะต้องหักภาษี ณ ที่จ่าย เพื่อนำส่งให้กรมสรรพากรไม่เกินวันที่ 7 ของเดือนถัดไป***บุคคลธรรมดาจ่ายเงินไม่มีหน้าที่ต้องหักภาษี ณ ที่จ่าย นิติบุคคลจะทำภาษีหัก ณ ที่จ่ายจะต้องรู้ 2 เรื่อง 1.ผู้รับเงินคือใคร <<<< กระทบต่อชนิดแบบที่ยื่น2.ประเภทเงินได้ที่จ่าย <<<< กระทบต่ออัตราภาษีที่จะต้องหัก ตัวอย่าง : วันที่ 18 ส.ค. 60 บริษัทจ่ายค่าบริการทำบัญชี ให้กับบริษัทบัญชี จำนวน 2,000 บาท

by KKN การบัญชี

Uncategorized

บุคคลธรรมดา กับ นิติบุคคล(SME) ใครเสียภาษีมากกว่ากัน?

และโดยทั่วไปเวลาที่วางแผนภาษีเรามักจะเทียบเฉพาะภาษีเงินได้เท่านั้น โดยลืมคิดถึงภาษีเงินปันผลอีก 10% เอาเข้ามารวมด้วย ทำให้เกิดการวางแผนภาษีที่ผิดพลาด รู้หรือไม่? เมื่อเราทำธุรกิจในรูปแบบนิติบุคคล (บริษัท/หจก.) เมื่อกิจการมีกำไรจากการดำเนินงานเจ้าของจะไม่สามารถนำเงินของกิจการออกมาใช้ได้ตามใจชอบ ถ้าอยากเอาผลกำไรของบริษัทออกมาใช้ส่วนตัว จะต้องทำการ “จ่ายเงินปันผล” รายได้เงินปันผล ผู้รับเงินปันผลจะต้องเสียภาษีหัก ณ ที่จ่าย 10% ของเงินปันผลที่ได้รับ เป็นเหตุผลที่เวลาพิจารณาว่าบุคคลหรือนิติบุคคลใครเสียภาษีมากกว่ากันจะต้องนำภาษีเงินปันผลมารวมในการคิดด้วย วันนี้ผมได้ทำสรุปเป็นภาพให้ทุกคนได้เห็นกันชัดๆ ไปเลยว่าแต่ละช่วงกำไร บุคคล กับ นิติบุคคลต้องเสียภาษีเท่าไหร่ เพื่อใช้ในการวางแผนภาษีได้ถูกต้องครับ

by KKN การบัญชี

Uncategorized

สัดส่วนการถือหุ้น เรื่องสำคัญที่ต้องระวัง

สัดส่วนการถือหุ้นมีผลอะไรบ้าง…… 20% –   สามารถเรียกร้องให้มีการจัดประชุมผู้ถือหุ้นได้ 51% –   จำนวนเสียงขั้นต่ำสำหรับการโหวตเพื่อดำเนินการอะไรบางอย่าง เช่น การจ่ายเงินปันผล, การเปลี่ยนแปลงกรรมการ (หรือเสียงมากกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนเสียงทั้งหมดของผู้ถือหุ้นที่มาประชุมและมีสิทธิออกเสียงลงคะแนน) 75% –   จำนวนเสียงขั้นต่ำสำหรับการโหวตมติพิเศษได้แก่ • การแก้ไขเพิ่มเติมหนังสือบริคณห์สนธิหรือข้อบังคับ • การเพิ่มทุนโดยออกหุ้นใหม่ • การออกหุ้นใหม่ให้ชำระค่าหุ้นด้วยสิ่งอื่นนอกจากชำระด้วยเงิน • การลดทุน • การเลิกบริษัท การควบบริษัทเข้าด้วยกัน (หรือเสียงมากกว่า3ใน4ของจำนวนเสียงทั้งหมดของผู้ถือหุ้นที่มาประชุมและมีสิทธิออกเสียงลงคะแนน) เรื่องเล่าจากประสบการณ์จริง!

by KKN การบัญชี

50 ทวิ
Bitcoin
DBD Registered
e-filing
LTF
SME
SMEs
TFRS16
Uncategorized
Voucher
กท.20 ก
กรมสรรพากร
กองทุนรวม
ก่อสร้างอาคารบนที่ดินของกรรมการ
การขอรับบริจาค
การจัดสรรกำไรสะสม
การตัดหนี้สูญ
การบริจาค
การบันทึกบัญชีเงินสดรับ-จ่าย
การประมาณการกำไรสุทธิขาดไป
การลงทุน
การลงประกาศหนังสือพิมพ์
การลดหย่อนบริจาคทั่วไป
การเช่า
กิจการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
กิจการร่วมค้า และกิจการค้าร่วม
กิจการเพื่อสังคม
กิจการโรงแรม
ขนส่ง
ขอคืนเงินประกันไฟฟ้า
ขายกิจการ
ขายสินค้าต่ำกว่าทุน
ขายสินค้าส่งออกไปต่างประเทศ
ขายหนังสือแถมคอร์สเรียนออนไลน์
คริปโทเคอร์เรนซี
ความเสี่ยง-ภาษีเงินได้นิติบุคคล
ความเสี่ยงของกิจการ
ค่าขนส่ง
ค้าขายออนไลน์
ค่าตรวจสุขภาพ
ค่าปรับ
ค่ารักษาพยาบาล
ค่ารับรอง
ค่าสินไหมทดแทน
ค่าเช่า
ค่าเช่ารับล่วงหน้า
ค่าเบี้ยประกันชีวิต
ค่าเสื่อมราคา
ค่าใช้จ่าย
ค่าใช้จ่ายของกิจการ
ค่าใช้จ่ายทางภาษี
ค่าใช้จ่ายในการอบรม
งบการเงิน
งบการเงินส่วนบุคคล
จดทะเบียน
จดทะเบียนเพิ่มสาขา
จดภาษีมูลค่าเพิ่ม
จัดตั้งบริษัท
จ้างงานผู้สูงอายุ
จ้างที่ปรึกษาต่างประเทศ
จ้างเด็กจบใหม่
ช้อปดีมีคืน
ดอกเบี้ยค้างรับ
ตราประทับ
ทรัพย์สิน
ทั่วไป
ทำประกันให้พนักงาน
ธุรกรรม
ธุรกิจขนส่ง
บริจาค
บริษัท กับ กรรมการ
บัญชีและภาษี
บิลเงินสด
ประกัน keyman
ประกันCovid-19
ประกันสังคม
ประชุมบริษัท
ประเภทเช็ค
ผลขาดทุน
ผู้ถือหุ้น
ผู้ประกอบการ
พร้อมเพย์
พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ฟรีแลนซ์
ภ.ง.ด. 1ก
ภ.ง.ด.1 ก
ภ.ง.ด.54
ภ.พ.36
ภาษี
ภาษี e-Service
ภาษีDropship
ภาษีกองทุนตราสารหนี้
ภาษีกับการออกจากงาน
ภาษีการรับมรดก
ภาษีของแพทย์
ภาษีขาย
ภาษีซื้อ
ภาษีซื้อต้องห้าม
ภาษีดอกเบีี้ย
ภาษีที่ดิน
ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง
ภาษีธุรกิจเฉพาะ
ภาษีนำเข้าสินค้า
ภาษีป้าย
ภาษีฟรีแลนซ์
ภาษีมูลค่าเพิ่ม
ภาษีรถยนต์
ภาษีหัก ณ ที่จ่าย
ภาษีอากร
ภาษีอากรนำเข้า
ภาษีอีเพย์เมนต์
ภาษีเงินปันผล
ภาษีเงินได้จากการรับให้
ภาษีเงินได้นิติบุคคล
ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย
ภาษีโรงแรม
มาตรการผู้กู้ยืม กยศ.
มูลค่าต้นทุน
ย้ายกิจการ
ยื่นแบบ
ยื่นแบบอย่างไรให้ประหยัดค่าปรับที่สุด
รถยนต์นั่ง
รถแลกเงิน
ระบบรับชำระเงินอิเล็กทรอนิกส์
ร้านกาแฟ-เสียภาษี
รายจ่ายค่าซ่อมแซม
รายจ่ายจริง
รายจ่ายต้องห้าม
รายได้อื่น
ลดหย่อนทางภาษี
ลดหย่อนภาษี
ลาออกจากงาน
วงจรเงินสด
วางระบบบัญชี
วางแผนภาษี
ศุลกากร
ส่งสินค้าทางไปรษณีย์
ส่งเสริมการขาย
สต็อกสินค้า
สรุปประเด็นภาษี
ส่วนลดกาาค้าและส่วนลดเงินสด
สวัสดิการพนักงาน
สวัสดิการอาหารพนักงาน
สัญญาขายฝาก
สัญญาซื้อ
สัญญาฝากทรัพย์
สัญญายินยอม
สัญญาเช่า
สัญญาเช่าที่ดิน
สำนักงานบัญชี
สิทธิประโยชน์ทางภาษี
หนี้สิน
อั่งเปา
อากรแสตมป์
เกษตรกับวิธีเสียภาษี
เครื่องบันทึกการเก็บเงิน
เคลมภาษีซื้อ ค่าอบรม
เงินกู้ยืมกรรมการ
เงินค่าฝึกอบรม
เงินชดใช้ค่าเสียหาย
เงินทดรองจ่าย
เงินบำนาญชราภาพ
เงินบำเหน็จ
เงินปันผล
เงินมัดจำ
เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด
เงินสมทบประกันสังคม
เงินสำรองจ่าย
เงินเรียกเก็บล่วงหน้าจากการขายสินค้า
เงินได้พนักงาน
เงินได้พึงประเมิน
เช่าซื้อ-ลิสซิ่ง
เบี้ยประกัน
เบี้ยปรับ
เปิดบริษัท
เราเที่ยวด้วยกัน
เลขประจำตัวผู้เสียอากร
เลิกทำธุรกิจ
เสน่หากับภาษ๊
เอกสารการเบิกจ่ายเงิน
เอกสารทางภาษี
เอกสารบัญชี
แจกไฟล์
แรงงานต่างด้าว
โครงการคนละครึ่ง
โทษปรับ
ใบกำกับภาษี
ใบกำกับภาษีอย่างย่อ
ใบลดหนี้
ใบลดหนี้และใบเพิ่มหนี้
ใบสำคัญจ่าย
ใบหุ้น
ใบเสนอราคา
ใบเสร็จรับเงิน