ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา

บทความล่าสุด

Uncategorized

บุคคลธรรมดาเปิดโรงเรียนกวดวิชาต้องเสียภาษีอะไรบ้าง ?

เมื่อจดทะเบียนถูกต้องเรียบร้อยแล้วก็จะได้รับสิทธิประโยชน์ทางภาษีดังนี้ 1.กรณีเป็นโรงเรียนเอกชน ด้านวิชาชีพ ภาษา วิชาช่าง สอนขับรถ งานฝีมือ รายได้ ได้รับยกเว้นไม่ต้องเสียทั้งภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (เมื่อได้รับยกเว้นภาษีบุคคลธรรมดาไม่มีหน้าที่ต้องยื่นแบบนำส่งภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา) 2.กรณีเป็นโรงเรียนกวดวิชา ต้องนำรายได้มาคำนวณภาษีเงินได้ แต่ได้รับการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม สิ่งที่ต้องระมัดระวัง รายได้จากโรงเรียนกวดวิชาเป็นเงินได้ 40(8) ประเภทอื่นๆ ซึ่งต้องหักค่าใช้จ่ายตามจริงเท่านั้น ไม่สามารถหักเหมา 60% ได้

by KKN การบัญชี

ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา

ได้เงินปันผลจากหุ้นยื่นภาษีอย่างไร ให้ประหยัดภาษี

เรื่องของรายได้เงินปันผล ถ้าคุณรู้จักการคำนวณภาษีเงินปันผลแบบใช้เครดิตภาษีเงินปันผลจะช่วยทำให้คุณประหยัดภาษีได้ และสำหรับคนที่มีรายได้น้อย คุณจะได้ภาษีคืนมากกว่าภาษีหัก ณ ที่จ่ายที่โดนหักจากการได้รับรายได้เงินปันผลอีกด้วย สาเหตุมาจาก “เงินปันผล” ที่ผู้ถือหุ้นได้รับนั้นมาจากกำไรของบริษัท ซึ่งได้เสียภาษีเงินได้นิติบุคคลไปเรียบร้อยแล้ว เมื่อผู้ถือหุ้นได้รับเงินปันผลยังถูกหักภาษี ณ ที่จ่ายอีก 10% ซึ่งตามกฎหมายถือเป็นการเสียภาษีซ้ำซ้อนจากกำไรก้อนเดียวกัน ภาครัฐจึงอนุญาตให้นักลงทุนขอ “เครดิตภาษีเงินปันผล” คืนได้ ในโพสนี้ผมได้ทำตัวอย่างเปรียบเทียบการคำนวนภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาเทียบกับระหว่าง 2 ทางเลือกคือ 1. ไม่นำรายได้เงินปันผลมารวมคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาประจำปี (ใช้ภาษีหัก ณ ที่จ่าย 10% เป็น Final tax เลย) 2. นำรายได้เงินปันผลมารวมคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาประจำปี และใช้เครดิตภาษีเงินปันผล หมายเหตุ: ถ้าบริษัทที่จ่ายเงินปันผลได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล (เช่น กิจการที่ได้รับสิทธิ BOI) ก็จะไม่มีเครดิตภาษีเงินปันผลครับ

by KKN การบัญชี

ภาษีมูลค่าเพิ่ม

บุคคลทำธุรกิจขายสินค้า ไม่ได้เก็บเอกสาร ต้องเสียภาษี?

มีผู้ประกอบการหลายท่านเข้าเงื่อนไขธุรกรรมลักษณะเฉพาะกันหลายท่าน บางท่านก็กลัวภาษีย้อนหลังอยากจะกลับตัวกลับใจมายื่นภาษีให้ถูกต้อง แต่อยากรู้ยอดภาษีคร่าวๆ ว่าจะต้องเสียภาษีประมาณกี่บาท แอดมินทำโพสนี้ขึ้นมาเพื่อเป็นแนวทางในการคำนวณภาษีเบื้องต้น เพื่อให้ผู้ประกอบการได้เตรียมใจ และเตรียมเงินในกระเป๋าเอาไว้แต่เนิ่นๆ

by KKN การบัญชี

ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา

แบบ ภ.ง.ด.91 ปี 2564 (แบบผูกสูตร) สามารถคำนวณภาษีได้อัตโนมัติ

👉 https://bit.ly/3IcqszZ แบบ ภ.ง.ด.91 จะใช้สำหรับยื่นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา สำหรับผู้มีเงินได้จากการจ้างแรงงาน (กลุ่มของพนักงานประจำ)

by KKN การบัญชี

ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา

แจกไฟล์ ภ.ง.ด.94 ปี 2564 (แบบผูกสูตร คำนวนภาษีและเงินเพิ่มอัตโนมัติ)

▶https://bit.ly/33bZKZh◀ แบบ ภ.ง.ด.94 จะเป็นแบบนำส่งภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาครึ่งปี สำหรับบุคคลธรรมดาที่มีรายได้ตามมาตรา 40 (5) – (8 ) หรือกลุ่มที่เราเรียกว่ารายได้จากการประกอบธุรกิจ บุคคลธรรมดาดาวโหลดแบบฟอร์ม ภ.ง.ด.94 มากรอกข้อมูล คำนวนภาษีและเงินเพิ่มเอง ซึ่ง PDF นี้จะช่วยให้การกรอกข้อมูลให้ง่ายขึ้นมีตัวช่วยในการคำนวนภาษีอัตโนมัติลดความผิดพลาด เมื่อกรอกข้อมูลเสร็จเรียบร้อยแล้วต้องนำไปยื่นเองที่สรรพากรพื้นที่สาขา ภาษีที่ชำระในแบบ ภ.ง.ด.94 จะถือเป็นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาจ่ายล่วงหน้า สามารถนำมาใช้เป็นเครดิตภาษีตอนที่เราคำนวนภาษีประจำปีได้ แอดมินแนะนำให้ใช้โปรแกรม Adobe reader dc ในการเปิดสามารถโหลดได้ที่นี่ https://get.adobe.com/reader/ เครดิต: ขอขอบคุณนายอธิฐ สุทธิปัญโญ ซึ่งเป็นผู้พัฒนาไฟล์นี้มาแจกให้กับทุกคนได้ใช้งานกันครับ

by KKN การบัญชี

Uncategorized

วิธีการยื่นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาปี 2564 (ยื่นผ่านระบบออนไลน์หมดเขตยื่น 8 เม.ย. 65)

ลองยื่นเลยครับไม่ยากอย่างที่คิด ระบบกรมสรรพากรออกแบบมาได้ดีมากครับ ไม่จำเป็นต้องมีความรู้ด้านบัญชีและภาษีก็สามารถยื่นภาษีเองได้ครับ ดูโพสนี้แล้วทำตามยื่นได้แน่นอนครับ

by KKN การบัญชี

ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา

แจกแบบนำส่งภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ภ.ง.ด.90 แบบผูกสูตร (ปี2564) + ตารางคำนวนเครดิตภาษีเงินปันผล

▶ ▶ ▶ https://bit.ly/3JlKuJy ใครที่ประกอบกิจการในรูปแบบบุคคลธรรมดาสามารถ Download ไปลองใส่ข้อมูลเพื่อดูยอดภาษีที่เสียคร่าวๆ ก่อนได้เลยครับ จะได้รีบวางแผนภาษีก่อนจะหมดปีครับ แนะนำให้ใช้โปรแกรม Adobe reader dc ในการเปิดสามารถโหลดได้ที่นี่ https://get.adobe.com/reader/ แนะนำให้ยื่นภาษีผ่านระบบออนไลน์ของกรมสรรพากรจะสะดวกที่สุดครับ >> https://efiling.rd.go.th/ เครดิต: นายอธิฐ สุทธิปัญโญ

by KKN การบัญชี

ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา

มีรายได้โครงการคนละครึ่งเสียภาษีกี่บาท

บอกข่าวดีก่อนยอดภาษีที่เห็นในภาพเป็นยอดภาษีเงินได้บุคคลธรรมดามากสุดที่จะต้องเสีย ซึ่งเราสามารถทำให้เสียภาษีน้อยลงได้ด้วย 2 วิธีดังนี้ เลือกหักค่าใช้จ่ายตามจริง แทนการหักค่าใช้จ่ายแบบเหมา 60% (วิธีนี้จะต้องมีการจัดทำรายงานเงินสดรับ-จ่าย และเก็บเอกสารประกอบการจ่ายค่าใช้จ่าย) ใช้สิทธิค่าลดหย่อนเพิ่ม เช่น ลดหย่อนบุตร เป็นต้น เวลาดูยอดรายได้จะต้องนำรายได้อื่นมารวมกับรายได้คนละครึ่งด้วยนะครับ ไม่ใส่เสียภาษีเฉพาะรายได้ที่เข้าโครงการ ไม่งั้นจะเสียภาษีไม่ครบ และที่สำคัญเมื่อรายได้เกิน 1.8 ล้านบาทต่อปีจะต้องจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มด้วยนะครับ หลังจากจด VAT ก็จะมีภาระเพิ่มในส่วนของการออกใบกำกับภาษีขายและเรียกเก็บภาษีมูลค่าเพิ่ม 7% จากลูกค้าเพิ่มนำส่งกรมสรรพากร ร้านค้าที่รายได้เกิน 1.8 ล้านบาทต่อปี แต่ไม่ได้จด VAT ระวังโดนท่านสรรพากรเรียกเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มย้อนหลังด้วยนะครับ บอกเลยภาษีนี้หนักมากๆๆๆๆ

by KKN การบัญชี

ภาษีเงินได้นิติบุคคล

หน้าที่ที่ต้องรู้เมื่อบุคคลธรรมดาเปลี่ยนเป็นนิติบุคคล

1.เสียภาษีเงินได้นิติบุคคลโดยยื่นแบบแสดงรายการภาษีภายใน 150 วัน นับแต่วันสุดท้ายของรอบระยะเวลาบัญชี และหากเป็นผู้ประกอบกิจการที่มีรายรับจากการขายสินค้าหรือให้บริการเป็นปกติธุระเกินกว่า 1.8 ล้านบาทต่อปี ต้องอื่นคำขอจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มภายใน 30 วัน นับแต่วันที่มีรายรับเกิน 1.8 ล้านบาทต่อปี 2.เสียภาษีจากกำไรสุทธิ (กรณีขาดทุนสุทธิไม่ต้องเสียภาษี) ผลขาดทุนสุทธิยกมาได้ไม่เกิน 5 ปีก่อนรอบระยะเวลาบัญชีปีปัจจุบัน มาเป็นรายจ่ายในการคำนวณกำไรสุทธิได้โดยคำนวณอัตราภาษีดังนี้กรณีทั่วไป เสียภาษีจากกำไรสุทธิทั้งจำนวนร้อยละ 20กรณี SMEs – กำไรสุทธิไม่เกิน 300,000 บาท ได้รับการยกเว้นภาษี – กำไรสุทธิเกิน 300,000 บาท แต่ไม่เกิน 3 ล้านบาทเสียภาษีจากกำไรสุทธิร้อยละ 15– กำไรสุทธิเกิน 3 ล้านบาทขึ้นไป เสียภาษีจากกำไรสุทธิร้อยละ 20 3.ต้องจัดทำบัญชีตามพระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ. 2543 ขึ้นอยู่กับประเภทนิติบุคคลที่จดทะเบียนว่าเป็นแบบไหน (ห้างหุ้นส่วนจำกัด บริษัท ฯลฯ) บัญชีที่ต้องจัดทำประกอบด้วย – งบแสดงฐานะการเงิน – งบกำไรขาดทุน – งบกระแสเงินสด– งบการเงินรวม– […]

by KKN การบัญชี

ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา

บุคคลธรรมดาก็ต้องทำบัญชีด้วยมันพีคมากกกก

สรุปภาระบุคคลธรรมดากับการทำบัญชี จัดทำรายงานเงินสดรับ จ่ายไม่จำเป็นต้องมีเอกสารประกอบทุกรายการ (กรณีเลือกค่าใช้จ่ายแบบเหมา) แนบเอกสารประกอบค่าใช้จ่ายทุกรายการ(กรณีเลือกค่าใช้จ่ายตามจริง) จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม ต้องทำเอกสารดังต่อไปนี้เพิ่ม รายงานภาษีขาย รายงานภาษีซื้อ รายละเอียดสินค้าคงเหลือ ณ วันที่ 30 มิถุนายน และวันที่ 31 ธันวาคม

by KKN การบัญชี

ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา

สามีและภรรยาประกอบกิจการร่วมกัน เสียภาษีอย่างไร?

ภาษีมูลค่าเพิ่มหากกิจการมีรายได้เกิน 1.8 ล้านบาทต่อปี จะต้องจดภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา• สามีและภรรยาสามารถยื่นภาษีรวมกันได้ (แต่ไม่ควรทำจะเสียภาษีเยอะไปทำไม) • ถ้าแบ่งรายได้กันได้อย่างชัดเจน ว่าเป็นรายได้ของสามีจำนวนเท่าไหร่ และของภรรยาจำรวนเท่าไหร่ ให้แต่ละคนแยกกันยื่น • ถ้าแบ่งรายได้กันไม่ได้ให้แบ่งกันคนละครึ่ง และแยกกันยื่น ภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา

by KKN การบัญชี

ภาษีเงินได้นิติบุคคล

ถ้าขายของออนไลน์มีรายได้ 1.7 ล้านบาทต่อปี บุคคลธรรมดา หรือ บริษัท ใครเสียภาษีมากกว่ากัน?

ต้องมีการสมมุติโจทย์เพิ่มเติมดังนี้ • รายได้จากการขายของออนไลน์ 1,700,000 บาท • ค่าใช้จ่ายตามจริง 1,190,000.00 บาท (คิดอัตรากำไร 30%) เรามาลองคำนวณกันเลยดีกว่าครับ ** ใครเลือกหักค่าใช้จ่ายตามจริงจะต้องมีการบันทีกรายจ่ายพร้อมเอกสารประกอบ เผื่อโดนขอตรวจสอบ โดยปกติไม่ค่อยมีคนเลือกวิธีนี้

by KKN การบัญชี

ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา

9 เทคนิคในการวางแผนภาษีบุคคลธรรมดา

1. เปลี่ยนรายได้ให้เป็นรายได้ที่ได้รับยกเว้นภาษี ตัวอย่างเงินได้ที่ได้รับยกเว้นภาษี •กำไรจากการขายหุ้นในตลาดหลักทรัพย์ (แต่เสี่ยงขาดทุน) •ดอกเบี้ยสลากออมสิน หรือดอกเบี้ยเงินฝากออมสินของรัฐบาลเฉพาะประเภท ฝากเผื่อเรียก •ดอกเบี้ยเงินฝากประเภทออมทรัพย์ที่ได้รับจากสหกรณ์ •เงินรางวัลที่ถูกหวย (บนดิน) •เงินประกันที่บริษัทประกันจ่ายให้ •รายได้ที่คนอายุ 65 ปีขึ้นไป หรือคนพิการได้รับให้ยกเว้นรายได้ 190,000 บาทแรก ดูเพิ่มเติมได้ที่ http://www.ar.co.th/kp/th/114 2. การเลือกใช้ประโยชน์จากเกณฑ์เงินสด รายได้บุคคลธรรมดาสรรพากรจะใช้เกณฑ์เงินสด หมายความว่าบุคคลธรรมดาได้เงินจริงปีไหนก็ถือเป็นรายได้ปีนั้น ตัวอย่าง : เรามีรายได้ก้อนใหญ่ 4 ล้านบาท ถ้าเรากระจายการรับเงินเป็น2 งวด คือปี2560 จำนวน 2 ล้านบาท, ปี2561 จำนวน 2 ล้านบาท เราจะเสียภาษีน้อยกว่ารับก้อนเดียว 4 ล้านบาทในปี2560 3. เลือกเสียภาษีในอัตราที่ต่ำกว่า ภาษีบุคคลธรรมดามีอัตราภาษีตั้งแต่ 5%-35% แต่มีรายได้บางประเภทที่เลือกเสียภาษีในอัตราที่ลดลงได้เช่น รายได้เงินปันผล กฎหมายให้สิทธิผู้มีเงินได้เลือกเสียภาษีหัก ณ ที่จ่ายในอัตรา 10% หรือจะเลือกนำเงินปันผลนั้นไปรวมเงินได้ปลายปีเพื่อคำนวณภาษี 4. แตกหน่วยภาษี […]

by KKN การบัญชี

ภาษีขาย

ทำธุรกิจเสียภาษีอะไรบ้าง

ภาษีเงินได้ เป็นภาษีทีเก็บจากเงินได้ ดังนั้นใครที่มีรายได้จะต้องเสียภาษี บุคคลธรรมดา – เสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาจากเงินได้สุทธิ (รายได้ – ค่าใช้จ่าย – ค่าลดหย่อน) นิติบุคคล – เสียภาษีเงินได้นิติบุคคลจากกำไรสุทธิทางภาษี ภาษีมูลค่าเพิ่ม มีรายได้จากการขายสินค้าหรือให้บริการเกิน 1.8 ล้านบาทต่อปีจะต้องจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีหัก ณ ที่จ่าย เป็นภาษีที่จะต้องจ่ายทันทีเมื่อมีรายได้จากการให้บริการ โดยนิติบุคคลผู้จ่ายเงินได้เป็นผู้มีหน้าที่หักภาษี ณ ที่จ่าย ภาษีอากรแสตมป์ ตราสารที่จะต้องติดอากรแสตมป์ ได้แก่ สัญญาเช่าโรงเรือน, เช่าซื้อทรัพย์สิน,จ้างทำของ, เงินกู้ ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง จะแบ่งออกเป็น 4 ประเภท ตามลักษณะการใช้ประโยชน์ ได้แก่ เกษตรกรรม, ที่อยู่อาศัย, อื่น ๆ (พาณิชยกรรม อุตสาหกรรม) และที่ดินรกร้างว่างเปล่า โดยคิดอัตราภาษีเป็นรูปแบบขั้นบันไดเพิ่มขึ้นตามมูลค่าราคาประเมิน  ภาษีศุลกากร เรียกเก็บจากการนำสินค้า หรือสิ่งของผ่านเข้าออกจากเขตแดนหนึ่งไปยังอีกเขตแดนหนึ่ง ภาษีสรรพสามิต เรียกเก็บจากสินค้าที่ผลิตหรือนำเข้าและการให้บริการในทางธุรกิจตามที่กฎหมายกำหนด เช่น ภาษีน้ำมัน, ภาษีน้ำหอม, ภาษีรถยนต์ ภาษีธุรกิจเฉพาะ เรียกเก็บจากการประกอบธุรกิจธนาคารหรือประกอบกิจการเยี่ยงธนาคารพาณิชย์, ประกันชีวิต, โรงรับจำนำ รวมถึงการขายอสังหาริมทรัพย์เป็นการค้าหรือหากำไร […]

by KKN การบัญชี

50 ทวิ
Bitcoin
DBD Registered
e-filing
LTF
SME
SMEs
TFRS16
Uncategorized
Voucher
กท.20 ก
กรมสรรพากร
กองทุนรวม
ก่อสร้างอาคารบนที่ดินของกรรมการ
การขอรับบริจาค
การจัดสรรกำไรสะสม
การตัดหนี้สูญ
การบริจาค
การบันทึกบัญชีเงินสดรับ-จ่าย
การประมาณการกำไรสุทธิขาดไป
การลงทุน
การลงประกาศหนังสือพิมพ์
การลดหย่อนบริจาคทั่วไป
การเช่า
กิจการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
กิจการร่วมค้า และกิจการค้าร่วม
กิจการเพื่อสังคม
กิจการโรงแรม
ขนส่ง
ขอคืนเงินประกันไฟฟ้า
ขายกิจการ
ขายสินค้าต่ำกว่าทุน
ขายสินค้าส่งออกไปต่างประเทศ
ขายหนังสือแถมคอร์สเรียนออนไลน์
คริปโทเคอร์เรนซี
ความเสี่ยง-ภาษีเงินได้นิติบุคคล
ความเสี่ยงของกิจการ
ค่าขนส่ง
ค้าขายออนไลน์
ค่าตรวจสุขภาพ
ค่าปรับ
ค่ารักษาพยาบาล
ค่ารับรอง
ค่าสินไหมทดแทน
ค่าเช่า
ค่าเช่ารับล่วงหน้า
ค่าเบี้ยประกันชีวิต
ค่าเสื่อมราคา
ค่าใช้จ่าย
ค่าใช้จ่ายของกิจการ
ค่าใช้จ่ายทางภาษี
ค่าใช้จ่ายในการอบรม
งบการเงิน
งบการเงินส่วนบุคคล
จดทะเบียน
จดทะเบียนเพิ่มสาขา
จดภาษีมูลค่าเพิ่ม
จัดตั้งบริษัท
จ้างงานผู้สูงอายุ
จ้างที่ปรึกษาต่างประเทศ
จ้างเด็กจบใหม่
ช้อปดีมีคืน
ดอกเบี้ยค้างรับ
ตราประทับ
ทรัพย์สิน
ทั่วไป
ทำประกันให้พนักงาน
ธุรกรรม
ธุรกิจขนส่ง
บริจาค
บริษัท กับ กรรมการ
บัญชีและภาษี
บิลเงินสด
ประกัน keyman
ประกันCovid-19
ประกันสังคม
ประชุมบริษัท
ประเภทเช็ค
ผลขาดทุน
ผู้ถือหุ้น
ผู้ประกอบการ
พร้อมเพย์
พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ฟรีแลนซ์
ภ.ง.ด. 1ก
ภ.ง.ด.1 ก
ภ.ง.ด.54
ภ.พ.36
ภาษี
ภาษี e-Service
ภาษีDropship
ภาษีกองทุนตราสารหนี้
ภาษีกับการออกจากงาน
ภาษีการรับมรดก
ภาษีของแพทย์
ภาษีขาย
ภาษีซื้อ
ภาษีซื้อต้องห้าม
ภาษีดอกเบีี้ย
ภาษีที่ดิน
ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง
ภาษีธุรกิจเฉพาะ
ภาษีนำเข้าสินค้า
ภาษีป้าย
ภาษีฟรีแลนซ์
ภาษีมูลค่าเพิ่ม
ภาษีรถยนต์
ภาษีหัก ณ ที่จ่าย
ภาษีอากร
ภาษีอากรนำเข้า
ภาษีอีเพย์เมนต์
ภาษีเงินปันผล
ภาษีเงินได้จากการรับให้
ภาษีเงินได้นิติบุคคล
ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย
ภาษีโรงแรม
มาตรการผู้กู้ยืม กยศ.
มูลค่าต้นทุน
ย้ายกิจการ
ยื่นแบบ
ยื่นแบบอย่างไรให้ประหยัดค่าปรับที่สุด
รถยนต์นั่ง
รถแลกเงิน
ระบบรับชำระเงินอิเล็กทรอนิกส์
ร้านกาแฟ-เสียภาษี
รายจ่ายค่าซ่อมแซม
รายจ่ายจริง
รายจ่ายต้องห้าม
รายได้อื่น
ลดหย่อนทางภาษี
ลดหย่อนภาษี
ลาออกจากงาน
วงจรเงินสด
วางระบบบัญชี
วางแผนภาษี
ศุลกากร
ส่งสินค้าทางไปรษณีย์
ส่งเสริมการขาย
สต็อกสินค้า
สรุปประเด็นภาษี
ส่วนลดกาาค้าและส่วนลดเงินสด
สวัสดิการพนักงาน
สวัสดิการอาหารพนักงาน
สัญญาขายฝาก
สัญญาซื้อ
สัญญาฝากทรัพย์
สัญญายินยอม
สัญญาเช่า
สัญญาเช่าที่ดิน
สำนักงานบัญชี
สิทธิประโยชน์ทางภาษี
หนี้สิน
อั่งเปา
อากรแสตมป์
เกษตรกับวิธีเสียภาษี
เครื่องบันทึกการเก็บเงิน
เคลมภาษีซื้อ ค่าอบรม
เงินกู้ยืมกรรมการ
เงินค่าฝึกอบรม
เงินชดใช้ค่าเสียหาย
เงินทดรองจ่าย
เงินบำนาญชราภาพ
เงินบำเหน็จ
เงินปันผล
เงินมัดจำ
เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด
เงินสมทบประกันสังคม
เงินสำรองจ่าย
เงินเรียกเก็บล่วงหน้าจากการขายสินค้า
เงินได้พนักงาน
เงินได้พึงประเมิน
เช่าซื้อ-ลิสซิ่ง
เบี้ยประกัน
เบี้ยปรับ
เปิดบริษัท
เราเที่ยวด้วยกัน
เลขประจำตัวผู้เสียอากร
เลิกทำธุรกิจ
เสน่หากับภาษ๊
เอกสารการเบิกจ่ายเงิน
เอกสารทางภาษี
เอกสารบัญชี
แจกไฟล์
แรงงานต่างด้าว
โครงการคนละครึ่ง
โทษปรับ
ใบกำกับภาษี
ใบกำกับภาษีอย่างย่อ
ใบลดหนี้
ใบลดหนี้และใบเพิ่มหนี้
ใบสำคัญจ่าย
ใบหุ้น
ใบเสนอราคา
ใบเสร็จรับเงิน