บทความล่าสุด

ภาษีการรับมรดก

ภาษีการรับมรดก

โดยภาษีการรับมรดกนั้นจะเกิดขึ้นเมื่อเจ้ามรดกตาย ผู้รับมรดกจากเจ้ามรดก ไม่ว่าจะได้รับมาในคราวเดียวหรือหลายคราว ซึ่งถ้ามรดกที่ได้รับมาหักด้วยภาระหนี้สินที่ตกทอดมาจากการรับมรดกเกิน 100 ล้านบาท ต้องเสียภาษีเฉพาะส่วนที่เกิน 100 ล้านบาท จะมีรายละเอียดอะไรบ้างนั้น วันนี้ผมได้สรุปจบครบทุกประเด็นของ ภาษีการรับมรดกมาให้แล้วครับ

by KKN การบัญชี

สัญญาซื้อ

สัญญาซื้อฝาก-ขายฝากกับภาษีที่ควรรู้

การฝากขาย คือ การทำสัญญาซื้อขายซึ่งกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินจะตกเป็นของผู้รับซื้อฝากทันที แต่ผู้ขายฝากสามารถนำเงินมาไถ่ถอนทรัพย์สินนั้นได้กายในระยะเวลาที่กำหนดไว้ในสัญญา หรือภายในเวลาที่กฎหมายกำหนดไว้ในสัญญาหรือภายในเวลาที่กฎหมายกำหนด ซึ่งหากเป็นการขายฝากอสังหาริมทรัพย์กฎหมายกำหนดให้สามารถทำสัญญาไถ่ถอนได้สูงสุด 10 ปีนับแต่เวลาซื้อขาย โดยผู้รับซื้อฝากจะได้ผลประโยชน์ตอบแทนจากผู้ขายฝากสูงสุดไม่เกินร้อยละ 15 ต่อปี และจะได้รับเงินจากการขายฝากคืนเมื่อมีการไถ่ถอนเกิดขึ้น 1. ด้านผู้ขายฝาก ภาษีจะเกิดขึ้นทันทีเมื่อมีการทำสัญญาขายฝาก เพราะการขายฝากถือเป็นการ “ขาย” ตามมาตรา 39 แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งผู้ขายมีหน้าที่ต้องเสียภาษีเงินได้ทันทีที่มีการทำสัญญาขายฝาก รวมทั้งต้องเสียค่าธรรมเนียมและภาษีเงินได้เหมือนกับการขายอสังหาริมทรัพย์ตามปกติด้วย โดยทางสำนักงานที่ดินจะเป็นผู้จัดเก็บประกอบด้วย– ค่าธรรมเนียมการจดทะเบียน  ร้อยละ 2 ของราคาประเมินทุนทรัพย์– อากรแสตมป์  ให้เสียอากรแสตมป์ในอัตรา 1 บาทต่อทุกจำนวนเงิน 200 บาทและเศษของ 200 บาทของราคาขายหรือราคาประเมินทุนทรัพย์แล้วแต่อย่างใดจะมากกว่า– ภาษีธุรกิจเฉพาะ  ต้องชำระภาษีในอัตราร้อยละ 3 ของราคาขายหรือราคาประเมินแล้วแต่อย่างใดจะมากกว่า และรายได้ส่วนท้องถิ่นอีกร้อยละ 10 ของภาษีธุรกิจเฉพาะ (คืออัตราร้อยละ 3.3 ของราคาขาย) ในกรณีที่ขายอสังหาริมทรัพย์ภายใน 5 ปีนับแต่วันที่ได้มาซึ่งอสังหาริมทรัพย์นั้น– ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย 2. ด้านผู้รับซื้อฝากกรณีผู้ขายฝากไถ่ถอนทรัพย์ภายในกำหนด ผู้รับซื้อฝากซึ่งได้รับชำระเงินถือเป็นเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40 […]

by KKN การบัญชี

จ้างเด็กจบใหม่

ค่าใช้จ่ายในการฝึกเตรียมเข้าทำงาน

วันนี้ผมจะมาพูดถึงในกรณีที่เป็นค่าใช้จ่ายในการฝึกเตรียมเข้าทำงาน ซึ่งค่าใช้จ่ายในการฝึกเตรียมเข้าทำงานจะมีค่าใช้จ่ายที่มากกว่าการฝึกงานธรรมดา ก็คือนอกจากจะมีการให้ค่าเบี้ยเลี้ยงแล้ว ก็อาจจะมีการจ่ายค่าเล่าเรียน หรือค่าที่พักให้ด้วย เพื่อที่จบมาแล้วจะรับเข้าทำงานเลย . เรามาดูกันครับว่ารายจ่ายเหล่านี้จะเป็นรายจ่ายต้องห้าม หรือได้รับการยกเว้นครับ

by KKN การบัญชี

เบี้ยประกัน

นายจ้างจ่ายเบี้ยประกันชีวิตให้พนักงาน

วันนี้เราจะมาพูดถึงกรณีที่นายจ้างจ่ายค่าเบี้ยประกันชีวิตให้พนักงาน โดยที่พนักงานเป็นผู้เอาประกัน แต่นายจ้างจะเป็นผู้รับประโยชน์ ซึ่งเมื่อพนักงานมีอายุ 60 ปีบริบูรณ์ หรือเมื่อมีอายุครบเกษียณ นายจ้างถึงจะยกผลประโยชน์ให้แก่พนักงานในกรณีที่พนักงานเกษียณอายุ หรือมอบให้แก่ทายาทของพนักงานในกรณีที่พนักงานเสียชีวิต สำหรับการรับรู้ผลประโยชน์ที่นายจ้างได้รับตามกรมธรรม์ นายจ้างจะต้องบันทึกบัญชีเป็นรายได้ และเมื่อได้ส่งมอบผลประโยชน์ให้พนักงานตามระเบียบสวัสดิการพนักงานของบริษัทแล้ว นายจ้างถึงจะมีสิทธินำผลประโยชน์ที่ส่งมอบให้พนักงานมาถือเป็นรายจ่ายได้ ส่วนค่าเบี้ยประกันชีวิตที่จ่ายแทนพนักงานทุกคน สามารถนำมาหักเป็นรายจ่ายในการคำนวณกำไรสุทธิเพื่อเสียภาษีเงินได้นิติบุคคลได้ ไม่ถือเป็นรายจ่ายต้องห้ามครับ และที่จะลืมไม่ได้เลยในส่วนของพนักงาน เบี้ยประกันชีวิตที่นายจ้างจ่ายแทนพนักงานและผลประโยชน์ที่พนักงานจะได้รับจากนายจ้าง ถือเป็นเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40(1) ต้องนำมารวมคำนวณเพื่อเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาครับ

by KKN การบัญชี

กองทุนรวม

ภาษีเงินได้จากการลงทุน

กองทุนรวมการระดมเงินลงทุนจากคนจำนวนมาก ไปลงทุนในสินทรัพย์ต่างๆ ตามนโยบายของแต่ละกองทุนเพื่อให้ได้รับผลตอบแทนแล้วนำมาเฉลี่ยคืนให้กับผู้ลงทุนแต่ละตามสัดส่วนที่ลงทุน ตราสารหนี้ตราสารการเงินเป็นสัญญาที่แสดงความเป็นหนี้ระหว่างผู้ออกตราสารหนี้และผ๔ถือตราสารหนี้ ที่เรียกว่า “ผู้ลงทุนตราสารหนี้” โดยผู้ถือตราสารหนี้จะมีฐานะเป็นเจ้าหนี้

by KKN การบัญชี

การเช่า

ขนส่ง กับ เช่ารถยนต์ต่างกันอย่างไร

ขนส่ง กับ เช่ารถยนต์ ต่างกันอย่างไร . ถ้าหากจะให้สรุปง่ายๆเลยก็คือ การขนส่ง ➡️ หักภาษี ณ ที่จ่ายในอัตราร้อยละ 1 และ ได้รับยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม การเช่า  ➡️ หักภาษี ณ ที่จ่ายในอัตราร้อยละ 5 และ ไม่ได้รับยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม . ซึ่งจะเป็นเช่าหรือขนส่งดูที่ข้อตกลง ส่วนเอกสารหลักฐานไม่ว่าจะเป็น ใบแจ้งหนี้, หนังสือรับรองหัก ณ ที่จ่ายใบกำกับภาษี (กรณีเช่ารถ) ควรระบุให้ชัดเจนตามลักษณะของข้อตกลงครับ

by KKN การบัญชี

เลิกทำธุรกิจ

หน้าที่ของผู้ชำระบัญชีเมื่อเลิกกิจการ

ผู้ชำระบัญชีมีหน้าที่ ดังนี้• จดเลิกบริษัท • ทำงบการเงิน ณ งวดบัญชที่ที่เลิกกิจการ • รวบรวมทรัพย์สินทั้งหมดของกิจการเพื่อจำหน่ายทรัพย์สิน รวมถึงการชำระบัญชีของกิจการ • รวมถึงผู้มีหน้าที่ประชุมใหญ่ผู้ถือหุ้นทั้งหมดของกิจการด้วย

by KKN การบัญชี

กิจการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์

กิจการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ที่ต้องยื่นแบบแสดงรายการภาษี

ผู้ประกอบการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์  ที่ดำเนินธุรกิจเกี่ยวข้องกับการซื้อขายสินค้าและบริการโดยผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์และระบบสื่อสารโทรคมนาคมหรือสื่ออิเล็กทรอนิกส์ มีสิทธิและหน้าที่ในการเสียภาษีเช่นเดียวกับผู้ประกอบการค้าขายมีหน้าร้านทั่วไป ที่ต้องนำรายได้มารวมคำนวณยื่นแบบแสดงรายการภาษีเงินได้ และมีหน้าที่จดทะเบียนเสียภาษีมูลค่าเพิ่มตามเงื่อนไขของกฎหมาย 1. เว็บไซต์แสดงรูป และราคาสินค้า (Catalog Website) เว็บไซต์ที่ผู้ประกอบการจัดทำขึ้นมาเพื่อทำหน้าที่ เป็นห้องแสดงสินค้า รายการราคาสินค้า ประชาสัมพันธ์รายการสินค้าโปรโมชั่น ณ ช่วงเวลานั้น เน้นไปทางโฆษณาสินค้าตัวใหม่ๆ แต่ไม่ได้มีการซื้อขายสินค้าออนไลน์ หากผู้ซื้อสินค้าสนใจจะซื้อสินค้า ต้องโทรศัพท์เพื่อสั่งสินค้า การชำระราคาค่าสินค้า จะเกิดขึ้นทันทีที่รับมอบสินค้าจากพนักงานส่งสินค้า 2.เว็บไซต์เพื่อการขายสินค้า (e-Shopping) สร้างขึ้นเพื่อเป็นตัวแทนของกิจการ ใช้ชื่อกิจการเป็นชื่อเว็บไซต์โดยไม่มีคำอื่นต่อท้าย สร้างกิจกรรมบนเว็บไซต์แบบเต็มรูปแบบ โดยจะมีกิจกรรมต่างๆ มีการเคลื่อนไหว ปรับปรุง เปลี่ยนแปลงเว็บไซต์ให้ทันสมัยตลอดเวลา มักมีผู้เข้าชมเป็นจำนวนมาก การขายสินค้า จะมีระบบการรับชำระค่าสินค้า มีตะกร้าให้เลือกสินค้า มีระบบการตรวจสอบการส่งของ มีระบบต่างๆ อีกมากมาย เพื่ออำนวยความสะดวกให้ลูกค้า ความแตกต่าง 3.การขายสินค้าบนชุมชนเว็บบอร์ดโดยผู้ขายไม่มีเว็บไซต์เป็นของตนเอง (Community Web) 4.เว็บไซต์เพื่อการประมูลขายสินค้า e-Auction (electronic auction) 5.เว็บไซต์ห้างสรรพสินค้าออนไลน์ e-Market Place หรือ Shopping Mall 6.เว็บไซต์แหล่งซื้อขายภาพถ่ายดิจิตอล Stock Photo […]

by KKN การบัญชี

ภาษีหัก ณ ที่จ่าย

ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย กรณีผู้มีเงินได้ครบเกษียณอายุงานระหว่างปี

การคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาหัก ณ ที่จ่าย สำหรับเงินได้พึงประเมินที่จ่ายในเดือนสุดท้ายที่ผู้มีเงินได้ออกจากงานระหว่างปี ผู้จ่ายเงินได้พึงประเมินมีสิทธิที่จะคำนวณภาษี เพื่อให้เงินภาษีที่หักไว้ถูกต้องครบถ้วนตามรายการค่าลดหย่อนที่แท้จริงตามหลักฐานที่ผู้มีเงินได้นำมาแสดง โดยนำเงินภาษีที่หักไว้ไม่ครบถ้วนหรือเกินในเดือนก่อน ๆ มารวมหรือหักกับภาษีที่ต้องหัก ณ ที่จ่ายไว้ครั้งสุดท้าย ได้ผลลัพธ์เป็นเงินเท่าใด ให้หักและนำส่งไว้เท่านั้น ตัวอย่าง – กรณีถูกหักภาษีในแต่ละเดือนไว้ขาด ตัวอย่าง – กรณีถูกหักภาษีในแต่ละเดือนไว้เกิน

by KKN การบัญชี

50 ทวิ
Bitcoin
DBD Registered
e-filing
LTF
SME
SMEs
TFRS16
Uncategorized
Voucher
กท.20 ก
กรมสรรพากร
กองทุนรวม
ก่อสร้างอาคารบนที่ดินของกรรมการ
การขอรับบริจาค
การจัดสรรกำไรสะสม
การตัดหนี้สูญ
การบริจาค
การบันทึกบัญชีเงินสดรับ-จ่าย
การประมาณการกำไรสุทธิขาดไป
การลงทุน
การลงประกาศหนังสือพิมพ์
การลดหย่อนบริจาคทั่วไป
การเช่า
กิจการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
กิจการร่วมค้า และกิจการค้าร่วม
กิจการเพื่อสังคม
กิจการโรงแรม
ขนส่ง
ขอคืนเงินประกันไฟฟ้า
ขายกิจการ
ขายสินค้าต่ำกว่าทุน
ขายสินค้าส่งออกไปต่างประเทศ
ขายหนังสือแถมคอร์สเรียนออนไลน์
คริปโทเคอร์เรนซี
ความเสี่ยง-ภาษีเงินได้นิติบุคคล
ความเสี่ยงของกิจการ
ค่าขนส่ง
ค้าขายออนไลน์
ค่าตรวจสุขภาพ
ค่าปรับ
ค่ารักษาพยาบาล
ค่ารับรอง
ค่าสินไหมทดแทน
ค่าเช่า
ค่าเช่ารับล่วงหน้า
ค่าเบี้ยประกันชีวิต
ค่าเสื่อมราคา
ค่าใช้จ่าย
ค่าใช้จ่ายของกิจการ
ค่าใช้จ่ายทางภาษี
ค่าใช้จ่ายในการอบรม
งบการเงิน
งบการเงินส่วนบุคคล
จดทะเบียน
จดทะเบียนเพิ่มสาขา
จดภาษีมูลค่าเพิ่ม
จัดตั้งบริษัท
จ้างงานผู้สูงอายุ
จ้างที่ปรึกษาต่างประเทศ
จ้างเด็กจบใหม่
ช้อปดีมีคืน
ดอกเบี้ยค้างรับ
ตราประทับ
ทรัพย์สิน
ทั่วไป
ทำประกันให้พนักงาน
ธุรกรรม
ธุรกิจขนส่ง
บริจาค
บริษัท กับ กรรมการ
บัญชีและภาษี
บิลเงินสด
ประกัน keyman
ประกันCovid-19
ประกันสังคม
ประชุมบริษัท
ประเภทเช็ค
ผลขาดทุน
ผู้ถือหุ้น
ผู้ประกอบการ
พร้อมเพย์
พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ฟรีแลนซ์
ภ.ง.ด. 1ก
ภ.ง.ด.1 ก
ภ.ง.ด.54
ภ.พ.36
ภาษี
ภาษี e-Service
ภาษีDropship
ภาษีกองทุนตราสารหนี้
ภาษีกับการออกจากงาน
ภาษีการรับมรดก
ภาษีของแพทย์
ภาษีขาย
ภาษีซื้อ
ภาษีซื้อต้องห้าม
ภาษีดอกเบีี้ย
ภาษีที่ดิน
ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง
ภาษีธุรกิจเฉพาะ
ภาษีนำเข้าสินค้า
ภาษีป้าย
ภาษีฟรีแลนซ์
ภาษีมูลค่าเพิ่ม
ภาษีรถยนต์
ภาษีหัก ณ ที่จ่าย
ภาษีอากร
ภาษีอากรนำเข้า
ภาษีอีเพย์เมนต์
ภาษีเงินปันผล
ภาษีเงินได้จากการรับให้
ภาษีเงินได้นิติบุคคล
ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย
ภาษีโรงแรม
มาตรการผู้กู้ยืม กยศ.
มูลค่าต้นทุน
ย้ายกิจการ
ยื่นแบบ
ยื่นแบบอย่างไรให้ประหยัดค่าปรับที่สุด
รถยนต์นั่ง
รถแลกเงิน
ระบบรับชำระเงินอิเล็กทรอนิกส์
ร้านกาแฟ-เสียภาษี
รายจ่ายค่าซ่อมแซม
รายจ่ายจริง
รายจ่ายต้องห้าม
รายได้อื่น
ลดหย่อนทางภาษี
ลดหย่อนภาษี
ลาออกจากงาน
วงจรเงินสด
วางระบบบัญชี
วางแผนภาษี
ศุลกากร
ส่งสินค้าทางไปรษณีย์
ส่งเสริมการขาย
สต็อกสินค้า
สรุปประเด็นภาษี
ส่วนลดกาาค้าและส่วนลดเงินสด
สวัสดิการพนักงาน
สวัสดิการอาหารพนักงาน
สัญญาขายฝาก
สัญญาซื้อ
สัญญาฝากทรัพย์
สัญญายินยอม
สัญญาเช่า
สัญญาเช่าที่ดิน
สำนักงานบัญชี
สิทธิประโยชน์ทางภาษี
หนี้สิน
อั่งเปา
อากรแสตมป์
เกษตรกับวิธีเสียภาษี
เครื่องบันทึกการเก็บเงิน
เคลมภาษีซื้อ ค่าอบรม
เงินกู้ยืมกรรมการ
เงินค่าฝึกอบรม
เงินชดใช้ค่าเสียหาย
เงินทดรองจ่าย
เงินบำนาญชราภาพ
เงินบำเหน็จ
เงินปันผล
เงินมัดจำ
เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด
เงินสมทบประกันสังคม
เงินสำรองจ่าย
เงินเรียกเก็บล่วงหน้าจากการขายสินค้า
เงินได้พนักงาน
เงินได้พึงประเมิน
เช่าซื้อ-ลิสซิ่ง
เบี้ยประกัน
เบี้ยปรับ
เปิดบริษัท
เราเที่ยวด้วยกัน
เลขประจำตัวผู้เสียอากร
เลิกทำธุรกิจ
เสน่หากับภาษ๊
เอกสารการเบิกจ่ายเงิน
เอกสารทางภาษี
เอกสารบัญชี
แจกไฟล์
แรงงานต่างด้าว
โครงการคนละครึ่ง
โทษปรับ
ใบกำกับภาษี
ใบกำกับภาษีอย่างย่อ
ใบลดหนี้
ใบลดหนี้และใบเพิ่มหนี้
ใบสำคัญจ่าย
ใบหุ้น
ใบเสนอราคา
ใบเสร็จรับเงิน